กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ สามารถดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อได้
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ของแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ สามารถดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อ ให้ควบคุมโรคฯได้ (ทำแบบทดสอบหลังการอบรมผ่าน ร้อยละ 70)
70.00 80.00

 

 

 

2 2. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิต ให้อยู่ในเกณฑ์ (DTX น้อยกว่า 126 mg.% และ BP ระหว่าง 90/60 mmHg. ถึง น้อยกว่า 140/90 mmHg. )
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 60 ของกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิต ให้อยู่ในเกณฑ์ (DTX น้อยกว่า 126 mg.% และ BP ระหว่าง 90/60 mmHg. ถึง น้อยกว่า 140/90 mmHg. )
60.00 60.00

 

 

 

3 3. กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน มีค่าระดับน้ำตาลสะสมในเม็ดเลือดแดง (HbA1C) น้อยกว่า 6.5 หรือค่า DTXลดลง หรือน้อยกว่า 140 mg.%
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการฯ มีค่าระดับน้ำตาลสะสมในเม็ดเลือดแดง (HbA1C) น้อยกว่า 6.5 หรือค่า DTX ลดลง หรือน้อยกว่า 140 mg.%
50.00 50.00