โครงการคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L5238-01-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.ชุมพล |
วันที่อนุมัติ | 23 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 30 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 4,900.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางวิจิตรา ทองเกิด |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.603,100.385place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในปัจจุบัน ยังดำเนินการได้ไม่ครอบคลุม ความไม่เข้มแข็งในการคุ้มครองตนเองทั้งของ เครือข่าย ผู้ประกอบการ และผู้บริโภคทำให้เกิดความเสี่ยงที่จะได้รับอันตราย จากปัญหาด้านต่างๆเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน เช่น ปัญหาการบริโภคยาชุดยาชุดยาสเตียรอยด์ การบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร การหลงเชื่อโฆษณา การบริโภคอาหารที่มีสารปนเปื้อนอันตราย เป็นต้น ดังนั้นการให้ความรู้ที่ถูกต้อง กับภาคีเครือข่ายตลอดจนประชาชน เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เป็นอันตราย และบริการสุขภาพต่างๆ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อการมีส่วนร่วมและเฝ้าระวังความเสี่ยงให้กับตนเอง และครอบครัว ดังนั้น รพ.สต.ชุมพล จึงได้จัดทำโครงการฯ เพื่อส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง เหมะสม ไม่ถูกหลอกลวงจากผลิตภัณฑ์หรือบริการต่างๆ ตลอดจนสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย เช่น อสม./ผู้ประกอบการ ครู/นร.อย.น้อย ในเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความความปลอดภัยของอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด 1.ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด ร้อยละ 80 |
||
2 | 2.เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด 2.ร้านชำได้รับการตรวจเยี่ยมและคำแนะนำ ร้อยละ 80 ของจำนวนร้านชำทั้งหมดในพื้นที่ และ ผ่านเกณฑ์ประเมิน อย่างน้อยร้อยละ 40 ของ จำนวนร้านชำที่ลงเยี่ยม |
||
3 | 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ปลอดภัยจากการใช้ยาสงสัยปนเปื้อน สเตียรอยด์ และ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน 3.ผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการเยี่ยมบ้านและตรวจสอบ การใช้ยาสงสัยปนเปื้อน สเตียรอยด์ และ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน อย่างน้อย 6 หลังคาเรือน |
||
4 | 4.เพื่อให้แผงจำหน่ายอาหารสดปลอดสารปนเปื้อน 6 ชนิด 4.แผงจำหน่ายอาหารสดปลอดสารปนเปื้อน 6 ชนิด ร้อยละ 90 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ด้านอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพ สามารถให้คำแนะนำแก่บุคคลในครอบครัว ในการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์สุขภาพหรืออาหารที่สะอาด ปลอดภัย ได้อย่างถูกต้อง ส่งผลดีต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชน ต่อไป
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 2568 09:23 น.