โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ปลอดภัยจากโรคติดต่อ ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ปลอดภัยจากโรคติดต่อ ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L5238-01-10 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.นางเหล้า |
วันที่อนุมัติ | 23 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 9,150.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวณัฐธีรยา พรหมสมบัติ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.603,100.385place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันมีเด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปี ต้องถูกฝากเลี้ยงไว้ในศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาล ซึ่งเป็นสถานที่มี เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเด็กเกิดการเจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อด้วยการระบาดของโรคไปสู่เด็กคนอื่นๆได้ง่าย ในเด็กเล็กที่มีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยบ่อยโรคที่พบบ่อยได้แก่โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ โรคมือเท้าปากโรคตาแดงโรค อุจจาระร่วงอีสุกฮีใส เป็นต้น ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็ก การระบาดของโรคติดต่อ ต่างๆอาจจะต้องปิดโรงเรียนเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและผู้ปกครองต้องหยุดงานเพื่อดูแลลูกหลานอยู่ที่บ้านทำ ขาดรายได้จึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญถึงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ในศูนย์เด็กเล็กให้มีประสิทธิ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมในเด็กปฐมวัย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ปลอดภัยจากโรคติดต่อ ปี 2568 ครองเด็กได้มีความรู้และมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อของเด็กปฐมวัยได้อย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ช่วยผู้ดูแลเด็ก และ อสม. ที่รับผิดชอบเด็กในพื้นที่มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและ วิธีการป้องกันโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย ๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการ ป้องกันโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐ |
||
2 | ๒. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ช่วยผู้ดูแลเด็ก และ อสม. ที่รับผิดชอบเด็กในพื้นที่ สามารถคัดกรองโรคติดต่อ และอาการป่วยเบื้องต้นได้ถูกต้อง ๒. ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในคัดกรองอาการป่วย การ ดูแลช่วยเหลือเบื้องตันเมื่อเด็กมีอาการเจ็บป่วย และ สามารถส่งต่อเด็กป่วย ถูกต้อง ร้อยละ ๘๐ |
||
3 | ๓. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ช่วยผู้ดูแลเด็ก และ อสม. ที่รับผิดชอบเด็กในพื้นที่ มีทักษะการดูแลช่วยเหลือ เบื้องต้นเมื่อเด็กมีอาการเจ็บป่วย และสามารถส่งต่อเด็ก ป่วยมาตรวจรักษาได้รวดเร็ว ทันเวลา ๓. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในเด็กปฐมวัยลดลงจากปีที่แล้ว |
||
4 | 4.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย
|
๑. ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ช่วยผู้ดูแลเด็ก และ อสม. ที่รับผิดชอบเด็กในพื้นที่มีความรู้เรื่องโรคติดต่อ ป้องกันโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย ๒. ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ช่วยผู้ดูแลเด็ก และ อสม. ที่รับผิดชอบเด็กในพื้นที่ สามารถคัดกรองโรคติดต่อและอาการ ป่วยเบื้องต้นได้ถูกต้อง ๓.ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ช่วยผู้ดูแลเด็ก และ อสม. ที่รับผิดชอบเด็กในพื้นที่ มีทักษะการดูแลช่วยเหลือเบื้องตันเมื่อ เด็กมีอาการเจ็บป่วย และส่งต่อสามารถส่งต่อเด็กป่วยมาตรวจรักษาได้รวดเร็ว ทันเวลา ๔.อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในเด็กปฐมวัยลดน้อยลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 2568 10:23 น.