โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหาร องค์การบริหารส่วนตำบลชุมพล ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหาร องค์การบริหารส่วนตำบลชุมพล ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L5238-01-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | องค์การบริหารส่วนตำบลชุมพล |
วันที่อนุมัติ | 23 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 32,470.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.603,100.385place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
อาหารเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ความปลอดภัยของอาหารที่บริโภคจึงมี ความสำคัญ เนื่องจากส่งผลกระทบต่อสุขภาหผู้บผู้บริโภคโลยตรง และพบว่าประชาชนไม่น้อยที่ป้ายด้วยโรคที่มีอาหารเป็นรือ ทำให้เกิดผล เสียต่อสุขภาพประชาชน รวมถึงเศรษฐกิจ และภาพลักษณ์ของพื้นที่เอง ประกอบกับรัฐบาลใต้กำหนหนโรบายให้ประเทศไทยเป็นพื้นเดิน แห่งอาหารปลอดภัย (Food Safeyโดยมีวัตถุประสงสงค์หลักคือเพื่อให้คนไทยมีตขภาพดี อาหารไทยเป็นที่ยอมรับของคนทั่วโลก และอาหารเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ความปลอดภัยของอาหารที่บริโภคจึงมีความสำคัญ เนื่องจากส่งผลกระทบต่อสุขภาหผู้บผู้บริโภคโลยตรง และพบว่าประชาชนไม่น้อยที่ป้ายด้วยโรคที่มีอาหารเป็นรือ ทำให้เกิดผล เสียต่อสุขภาพประชาชน รวมถึงเศรษฐกิจ และภาพลักษณ์ของพื้นที่เอง ประกอบกับรัฐบาลใต้กำหนหนโรบายให้ประเทศไทยเป็นพื้นเดิน แห่งอาหารปลอดภัย (Food Safeyโดยมีวัตถุประสงสงค์หลักคือเพื่อให้คนไทยมีตขภาพดี อาหารไทยเป็นที่ยอมรับของคนทั่วโลก และ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและน้ำที่ไม่ สะอาด ชึงมีสาเหตุจากสถานที่จำหน่ายอาหาร ๑.ร้อยละ ๑๐๐ ประชาชนในพื้นที่บริโภคอาหารมีอาหารสะอาด ปลอดภัย |
||
2 | ๒.ส่งเสริมให้สถานที่จำหน่ายอาหารมีความตระหนักในการ ปรับปรุงและควบคุมปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อความปลอดลอดภัยจาก อาหารที่ปรุงจำหน่าย ๒.ร้อยละ ๑๐๐ ของสถานที่จำหน่ายอาหารมีความรู้ตามมาตราฐาน SAN และมีป้ายมาตรฐาน SAN |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
๑.จำนวนสถานที่จำหน่ายอาหารที่ผ่านการรับรองมามาตรฐาน SAN หรือ SAN PLUS "สะอาล ปลอดภัย ได้มาตรฐาน" (Sanitation. Accountability, Network) ๒.จำนวนผู้เข้าอบรมได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถในการดำเนินงานตามมาตรฐาน SAN "สะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐาน " (Sanitation, Accountability, Network) ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ ๑. ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคุ้มครองดูแลสุขภาพ บริโกลอาหารที่สะอาล ปลอดภัย ส่งผลให้เห็ดฤลิกรรมการ บริโภคทิเหมาะสม ปลอดภัย ๒. ร้านอาหารให้รับการรับรองมาตรฐาน SAN หรือ SAN PLUS "ละอาล ปลอดภัย ได้มาตรฐาน" (Sanitation.Accountability, Network)
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 2568 10:32 น.