directions_run
โครงการ “พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพ แก้ไขปัญหาเตี้ย ผอม อ้วน”
ชื่อโครงการ | โครงการ “พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพ แก้ไขปัญหาเตี้ย ผอม อ้วน” |
รหัสโครงการ | 68-L4126-3-8 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบันนังสตา |
วันที่อนุมัติ | 5 มิถุนายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 15 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 21,610.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นาสุภาพร ใชยมนตรี |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอิสมาแอ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.25,101.233place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 55 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 68 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนเป็นปัญหาที่หลายคนมองข้าม ซึ่งมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการกินของแต่ละบุคคล ผลการวิจัยพบว่าเด็กที่มีภาวะเตี้ย ผอม อ้วน เกิดจากการขาดสารอาหารเรื้อรังมาเป็นเวลานาน ทำให้เกิดภูมิต้านทานต่ำและเกิดโรคแทรกซ้อนได้มากกว่าเด็กที่มีภาวะโภชนา | 50.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และความสามารถของครู แม่ครัว เด็ก และผู้ปกครองในการดูแลเด็กที่มี ภาวะโภชนาการเตี้ย ผอม อ้วน 2. เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีคุณภาพ สามารถแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กให้มีรูปร่างดีสมส่วน 3. เพื่อให้ได้รับข้อมูลสถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของเด็กปฐมวัยว่ามีจำนวนเท่าไร (เตี้ย ผอม อ้วน)
|
- ร้อยละ 80 ครู แม่ครัว เด็ก และผู้ปกครอง มีความรู้และความสามารถในการดูแลเด็กที่มีภาวะโภชนาการเตี้ย ผอม อ้วน
- ร้อยละ 80 ระบบการบริหารจัดการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกิดการพัฒนา มีคุณภาพมากขึ้น
และสามารถแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กให้มีรูปร่างดีสมส่วน
- ร้อยละ 80 ได้รับทราบข้อมูลสถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของเด็กปฐมวัยว่ามีจำนวนเท่าไร (เตี้ย ผอม อ้วน)
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 2568 13:42 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ