directions_run
โครงการ ส่งเสริมสุขภาพกาย ใจ ใส่ใจผู้สูงอายุและผู้พิการ ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการ ส่งเสริมสุขภาพกาย ใจ ใส่ใจผู้สูงอายุและผู้พิการ ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68 – L8278-1-12 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมผู้สูงอายุ/พิการ |
วันที่อนุมัติ | 2 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 39,750.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ชมรมผู้สูงอายุ/พิการ |
พี่เลี้ยงโครงการ | - |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.25,101.233place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 13 มิ.ย. 2568 | 13 มิ.ย. 2568 | 39,750.00 | |||
รวมงบประมาณ | 39,750.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 200 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ : ระบุ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ปัจจุบันประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงวัย (Aged society) เนื่องจากจำนวนประชากรผู้สูงอายุได้มีการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งในเชิงขนาดและสัดส่วน โดยในปี พ.ศ.2564 มีจำนวนผู้สูงอายุ ร้อยละ 17.5 และในปี 2565 จะเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุมากกว่าปร | 0.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อป้องกันผู้สูงอายุจากติดบ้านไม่ให้ติดเตียง
|
||
2 | 2. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ร้อยละ 80 ผู้พิการ ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแลด้านร่างกายและจิตใจ |
||
3 | 3.เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้ดูแลและผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า -ร้อยละ 80 ผู้ดูแลพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยติดเตียง ได้รับความรู้ที่ถูกต้อง |
||
4 | 4. เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานผู้สูงอายุผ่านเครือข่ายในพื้นที่ -ร้อยละ 80 ผู้พิการ ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยติดเตียง ไม่มีโรค |
||
5 | 5.เพื่อให้มีแผนลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเชิงรุกเพื่อให้กำลังใจแก่ผู้สูงอายุ/และผู้ดูแลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น -เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและมีความยั่งยืน |
- 1.ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
- 2.สร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีในการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงและรู้ตัวว่าตัวเองมีคุณค่า
- 3.เพื่อสร้างแรงใจให้กับผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง 4.เพื่อสร้างขวัญ และกำลังใจให้แก่ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้าน และผู้ป่วยติดเตียง 5.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้และดูแลอย่างถูกต้องและยั่งยืนไม่กลายเป็นผู้สูงอายุติดเตียง
- 1.ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
- 2.สร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีในการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงและรู้ตัวว่าตัวเองมีคุณค่า
- 3.เพื่อสร้างแรงใจให้กับผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง 4.เพื่อสร้างขวัญ และกำลังใจให้แก่ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้าน และผู้ป่วยติดเตียง 5.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้และดูแลอย่างถูกต้องและยั่งยืนไม่กลายเป็นผู้สูงอายุติดเตียง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2568 14:49 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ