directions_run
โครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน |
รหัสโครงการ | 68 – L8278-1-13 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านบันนังกูแว |
วันที่อนุมัติ | 2 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 41,850.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | โรงเรียนบ้านบันนังกูแว |
พี่เลี้ยงโครงการ | - |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.25,101.233place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 13 มิ.ย. 2568 | 13 มิ.ย. 2568 | 41,850.00 | |||
รวมงบประมาณ | 41,850.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม หมวด 1 บททั่วไปมาตรา 6 ได้กำหนด การ จัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนา คนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร | 0.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการและมีภาวะโภชนาการสมวัย 1) ร้อยละ 80 ของเด็กนักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ (ผอม เตี้ย) เข้าร่วมการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเพิ่มขึ้น |
||
2 | 2) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ 2) ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สามารถบริโภคตามหลักโภชนาการได้อย่างถูกต้องและมีคุณภาพ จนส่งผลให้ภาวะทุพโภชนาการเด็กลดลง |
||
3 | 3) เพื่อให้มีการบริหารจัดการอาหารเช้าในโรงเรียนให้กับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ 3) ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ |
นักเรียนได้รับความรู้ แนวทางการส่งเสริมสุขภาพ มีส่วนร่วมในการดูแลโภชนาการ นักเรียนมีสุขภาพดี มีภาวะโภชนาการที่สมส่วนตามวัย มีพฤติกรรมการเลือกบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2568 15:20 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ