directions_run
การส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของนักเรียน
ชื่อโครงการ | การส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของนักเรียน |
รหัสโครงการ | 68 – L8278-1-14 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านกาโสด |
วันที่อนุมัติ | 2 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 17,787.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | โรงเรียนบ้านกาโสด |
พี่เลี้ยงโครงการ | - |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.25,101.233place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 13 มิ.ย. 2568 | 13 มิ.ย. 2568 | 17,787.00 | |||
รวมงบประมาณ | 17,787.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 116 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | อาหารมีความสำคัญในทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะสำหรับเด็กวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต และเป็นช่วงที่สมองกำลังพัฒนา อาหารจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับวัยนี้ดังนั้นควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ ซึ่งในแต่ละหมู่ต้องมีความหลากหลายและปริมาณให้เ | 0.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตเต็มวัย ลดภาวะทุพโภชนาการ (ผอม/เตี้ย) นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และมีภาวะโภชนาการปกติร้อยละ 100 |
||
2 | 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการปะเมินและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ และได้รับการดูแลแก้ไขทุกคน นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ร้อยละ 100 |
||
3 | 3. เพื่อให้นักเรียนได้รับการรับความรู้ และทักษะการเลือกบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียน นักเรียนมีการรับความรู้ และทักษะการเลือกบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียนร้อยละ 100 |
- นักเรียนมีร่างกายแข็งแรง มีการเจริญเติบโตตามวัยอย่างเหมาะสม 2. นักเรียนได้รับการตรวจประเมินภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ และนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน และทุพโภชนาได้รับการแก้ไข ทุกคน (ตามแบบการประเมิน ของกรมอนามัย) 3. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในด้านการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2568 15:53 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ