กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และโรคอุบัติใหม่ ”




หัวหน้าโครงการ
นายมาหามะรุสดี กอร์เดร์




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และโรคอุบัติใหม่

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L4134-1-1 เลขที่ข้อตกลง 6/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และโรคอุบัติใหม่ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และโรคอุบัติใหม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และโรคอุบัติใหม่ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L4134-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรค (Disease) คือ ความไม่สบาย ความเจ็บป่วย เป็นภาวะที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง หรือขัดขวางการทำงานตามปกติของส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายจนปรากฏอาการ ซึ่งโรคสามารถแบ่งตามสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคได้เป็น  ๒ ประเภท คือประเภทแรก คือ โรคไม่ติดต่อ หมายถึง โรคที่เกิดจากความผิดปกติหรือความเสื่อมโทรมของร่างกายและจิตใจ ไม่สามารถที่จะติดต่อไปหาบุคคลอื่นได้ เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคนิ่ว โรคจิต โรคประสาท และโรคความดันเลือดต่าง ๆ เป็นต้น ประเภทที่ ๒ คือ โรคติดต่อ หมายถึง โรคที่สามารถถ่ายทอดหรือติดต่อจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังอีกสิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ โดยไม่จำกัดว่าสิ่งมีชีวิตนั้นจะเป็นมนุษย์หรือไม่ก็ตาม โรคติดต่ออาจสามารถแพร่ไปสู่สิ่งมีชีวิตอื่นได้ โดยการสัมผัสโดยตรง การสูดดมหายใจเอาเชื้อโรคที่แพร่จากผู้ป่วย การรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่มีเชื้อปนอยู่ หรือแม้แต่ผ่านตัวกลางที่เรียกว่า “พาหะ” หากโรคติดต่อนั้น ๆ มีการแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วสู่ชุมชนที่มีประชากรจำนวนมาก โรคดังกล่าวก็กลายเป็นโรคระบาด กลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) ก็ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลก ทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม โดยประเทศไทย มีอัตราการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อต่ำสุด เมื่อเทียบในกลุ่มประเทศภูมิภาคเอเชียใต้-ตะวันออก และโรคไม่ติดต่อยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของประชาชนไทยทั้งในแง่ภาระโรค และอัตราการเสียชีวิต อัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (30-69 ปี) จากโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ประกอบด้วย โรคหลอดเลือดสมอง, โรคหัวใจขาดเลือด, โรคเบาหวาน,ภาวะความดันโลหิตสูง และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยโรคหลอดเลือดสมองมีอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรสูงที่สุดเท่ากับ 44.3 รายต่อประชากรแสนคน และอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรด้วยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ชายสูงกว่าเพศหญิง สถานการณ์โรคติดต่ออุบัติใหม่อุบัติซ้ำ การเกิดภัยพิบัติ โดยเฉพาะภัยธรรมชาติได้ทวี ความรุนแรงและความถี่มากขึ้นส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน นับเป็นปัญหาสาธารณสุขทั้งในระดับเขต ระดับชาติ และนานาชาติ ประกอบกับสถานะทางสุขภาพของมนุษย์มีความซับซ้อนมากกว่าแค่การเป็นโรคหรือไม่เป็นโรค เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบสูงต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะสุขภาพ ซึ่งมีความเสี่ยงจากโรคและภัยสุขภาพที่สำคัญ อาทิ โรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ โรคทางเดินอาหารและน้ำ โรคพิษสุนัขบ้า โรคมือเท้าปาก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา โรคไข้เลือดออก โรคคอตีบ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ตำบลบันนังสาเรง ในปี พ.ศ.2567 พบผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้านติดเตียงเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน และพบผู้ป่วยโรคติดต่อในพื้นที่ ได้แก่โรคเรื้อน โรคหัด โรคคอตีบ ไอกรน โดยพบผู้ป่วยโรคเรื้อนและโรคหัดในพื้นที่ของหมู่ที่ 3 บ้านตาราแดะ จากการลงพื้นที่พบว่าประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจ การป้องกันและการรักษาของโรคดังกล่าว
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลบันนังสาเรง ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อและไม่ติดต่อและโรคอุบัติใหม่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและโรคอุบัติที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
  2. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกันและควบคุมโรคที่สำคัญอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักและให้ความสำคัญกับการป้องกันตนเองจากโรคไม่ติดต่อ
    2. ชุมชนมีส่วนร่วมในดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกันและควบคุมโรคที่สำคัญอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและโรคอุบัติที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
    ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ ๘๐ 2. ความรู้หลังอบรมเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๕ 3. ความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๕

     

    2 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกันและควบคุมโรคที่สำคัญอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
    ตัวชี้วัด : 1. มีกิจกรรมรณรงค์ควบคุม ป้องกันโรคติดต่ออย่างน้อยปีละครั้ง 2. มีการประชาสัมพันธ์ป้องกันโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ โรคอุบัติใหม่

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและโรคอุบัติที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน (2) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกันและควบคุมโรคที่สำคัญอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และโรคอุบัติใหม่ จังหวัด

    รหัสโครงการ 68-L4134-1-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมาหามะรุสดี กอร์เดร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด