โครงการลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke ตำบลบันนังสาเรง ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke ตำบลบันนังสาเรง ปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังบูโย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke ตำบลบันนังสาเรง ปี 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L4134-1-5 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke ตำบลบันนังสาเรง ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke ตำบลบันนังสาเรง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke ตำบลบันนังสาเรง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L4134-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคหลอดเลือดสมองคือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดส่งผลให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญในร่างกายอุดตันหรืออาจเสี่ยงถึงขั้นเส้นเลือดแตก โดยเฉพาะหากเกิดกับหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ปัจจุบันโรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ที่คร่าชีวิตประชาชนโลกมากที่สุด จากสถิติพบว่าในทุกๆ 2 วินาทีจะมีคนเสียชีวิตด้วยโรคนี้ 1 คน องค์การอนามัยโลกได้ทำนายไว้ว่าในปี พ.ศ.2573 ประชากรโลกจำนวน 23 ล้านคนจะเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง โดยร้อยละ 85 อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา ประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่ในแต่ละปี 150,000 ราย โรคหลอดเลือดสมองเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุและเพศ ปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และปัจจัยทางกายภาพ เช่น โรคความดันโลหิตสูง ระดับไขมันในเลือดสูง และโรคเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหลอดเลือดสมองในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกันจะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น ในตำบลบันนังสาเรง มีผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง จำนวน 464 ราย โรคเบาหวาน จำนวน 217 ราย ความดันโลหิตสูงร่วมกับโรคเบาหวาน จำนวน 127 ราย โรคความดันโลหิตสูงร่วมกับโรคเบาหวานร่วมกับไขมัน จำนวน 15 ราย โรคความดันโลหิตสูงร่วมกับไขมัน จำนวน 23 ราย ไขมันในเลือดสูงจำนวน 10 รายและโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 28 ราย โรคหัวใจ จำนวน 5 ราย ราย ผู้ป่วยติดบ้าน จำนวน 6 ราย และผู้ป่วยติดเตียง จำนวน 5 ราย ซึ่งสอดคล้องกับปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งพบว่ากลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเป็นกลุ่มที่มีมากที่สุด และจากการสำรวจข้อมูลในชุมชนนี้พบว่ามีอุบัติการณ์และความชุกของผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองสูง และคนในชุมชนยังไม่ทราบแนวทางและการป้องกันเมื่อบุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองเมื่อมีอาการแสดงเกิดขึ้นซึ่งถ้าการช่วยเหลือมีความล่าช้าก็จะส่งผลให้ภาวะโรคมีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลให้เกิดความพิการได้
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังบูโย ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าวและได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรค เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจึงได้จัดทำโครงการ “ลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke” ผู้จัดทำคาดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นความเสี่ยงต่อความเจ็บป่วยของโรคหลอดเลือดสมองในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ช่วยควบคุมสภาวะของโรค ลด หรือป้องกันการกลับเป็นซ้ำในกลุ่มผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เกิดความคุ้มค่าลดค่าใช้จ่ายในการรักษา/ดูแล และที่สำคัญอย่างยิ่ง คือการที่บุคคลอยู่รอดได้อย่างปกติไม่เกิดความพิการ ความทุกข์ทั้งร่างกายและจิตใจต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคที่ถูกต้อง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันโรคที่เหมาะสม
2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเรื่องอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และการงดสูบบุหรี่ ดื่มสุราได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 100
2
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง ร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke ตำบลบันนังสาเรง ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L4134-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังบูโย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke ตำบลบันนังสาเรง ปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังบูโย
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L4134-1-5 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke ตำบลบันนังสาเรง ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke ตำบลบันนังสาเรง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke ตำบลบันนังสาเรง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L4134-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคหลอดเลือดสมองคือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดส่งผลให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญในร่างกายอุดตันหรืออาจเสี่ยงถึงขั้นเส้นเลือดแตก โดยเฉพาะหากเกิดกับหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ปัจจุบันโรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ที่คร่าชีวิตประชาชนโลกมากที่สุด จากสถิติพบว่าในทุกๆ 2 วินาทีจะมีคนเสียชีวิตด้วยโรคนี้ 1 คน องค์การอนามัยโลกได้ทำนายไว้ว่าในปี พ.ศ.2573 ประชากรโลกจำนวน 23 ล้านคนจะเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง โดยร้อยละ 85 อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา ประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่ในแต่ละปี 150,000 ราย โรคหลอดเลือดสมองเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุและเพศ ปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และปัจจัยทางกายภาพ เช่น โรคความดันโลหิตสูง ระดับไขมันในเลือดสูง และโรคเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหลอดเลือดสมองในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกันจะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น ในตำบลบันนังสาเรง มีผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง จำนวน 464 ราย โรคเบาหวาน จำนวน 217 ราย ความดันโลหิตสูงร่วมกับโรคเบาหวาน จำนวน 127 ราย โรคความดันโลหิตสูงร่วมกับโรคเบาหวานร่วมกับไขมัน จำนวน 15 ราย โรคความดันโลหิตสูงร่วมกับไขมัน จำนวน 23 ราย ไขมันในเลือดสูงจำนวน 10 รายและโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 28 ราย โรคหัวใจ จำนวน 5 ราย ราย ผู้ป่วยติดบ้าน จำนวน 6 ราย และผู้ป่วยติดเตียง จำนวน 5 ราย ซึ่งสอดคล้องกับปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งพบว่ากลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเป็นกลุ่มที่มีมากที่สุด และจากการสำรวจข้อมูลในชุมชนนี้พบว่ามีอุบัติการณ์และความชุกของผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองสูง และคนในชุมชนยังไม่ทราบแนวทางและการป้องกันเมื่อบุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองเมื่อมีอาการแสดงเกิดขึ้นซึ่งถ้าการช่วยเหลือมีความล่าช้าก็จะส่งผลให้ภาวะโรคมีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลให้เกิดความพิการได้
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังบูโย ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าวและได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรค เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจึงได้จัดทำโครงการ “ลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke” ผู้จัดทำคาดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นความเสี่ยงต่อความเจ็บป่วยของโรคหลอดเลือดสมองในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ช่วยควบคุมสภาวะของโรค ลด หรือป้องกันการกลับเป็นซ้ำในกลุ่มผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เกิดความคุ้มค่าลดค่าใช้จ่ายในการรักษา/ดูแล และที่สำคัญอย่างยิ่ง คือการที่บุคคลอยู่รอดได้อย่างปกติไม่เกิดความพิการ ความทุกข์ทั้งร่างกายและจิตใจต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคที่ถูกต้อง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันโรคที่เหมาะสม 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเรื่องอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และการงดสูบบุหรี่ ดื่มสุราได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 100 |
|
|||
2 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง ร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกล Stroke ตำบลบันนังสาเรง ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L4134-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังบูโย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......