กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการวัยเรียน Teen Safe Zone พื้นที่ปลอดภัยของวัยใส ”
จังหวัดพัทลุง และ จังหวัดนครศรีธรรมราช



หัวหน้าโครงการ
นางอุบล วัฒนศักดิ์ภูบาล




ชื่อโครงการ โครงการวัยเรียน Teen Safe Zone พื้นที่ปลอดภัยของวัยใส

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง และ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 68-L3067-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยเรียน Teen Safe Zone พื้นที่ปลอดภัยของวัยใส จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง และ จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยเรียน Teen Safe Zone พื้นที่ปลอดภัยของวัยใส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยเรียน Teen Safe Zone พื้นที่ปลอดภัยของวัยใส " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง และ จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 68-L3067-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 112,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ตลอดจนการนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ โดยเฉพาะด้านการสื่อสารจนอาจเรียกได้ว่าเป็นยุคข่าวสารก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสภาพสังคมอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นส่งผลต่อสุขภาพจิตและการปรับตัวในการดำเนินชีวิตประจำวันและปัญหาสังคมต่างๆ เช่นยาเสพติด โรคเอดส์ ฯลฯ ด้วยสังคมเศรษฐกิจในปัจจุบันทำให้สภาพชีวิตในครอบครัวขาดความรักความอบอุ่น มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน ต่อบุคลิกภาพและส่งผลต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กและเยาวชนทั้งนี้เพราะเด็กที่มีการรับรู้ว่าตนเองไม่เป็นที่ชื่นชอบของบิดามารดามักมีการเห็นคุณค่าในตนเองต่ำ เด็กกลุ่มนี้จะมีแนวโน้มที่จะโทษคนอื่น และเชื่อว่าคนอื่นมองตนว่าด้อยกว่า มักจะแสดงออกโดยการเก็บตัว เสี่ยงต่อการที่จะต้องตกเป็นเป้าสายตาของคนอื่น ไม่กล้าแสดงออก ทั้งนี้เพราะขาดความมั่นใจในตนเอง ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพจิตและสูญเสียการเห็นคุณค่าในตนเอง ดังนั้นเพื่อเป็นการปลูกฝังการเห็นคุณค่าในตนเอง เพื่อให้มีสภาพจิตใจที่เข้มแข็งตั้งแต่วัยเรียน จึงควรให้เด็กและเยาวชนได้รับการส่งเสริมให้เห็นคุณค่าในตนเอง เพื่อพัฒนาสุขภาพจิตและเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างยั่งยืน
ปัจจัยพื้นฐานทางสังคมในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลบางเขา พบว่าสภาพครอบครัวที่อาจเรียกได้ว่า “บ้านแตกสาแหรกขาด” เนื่องจากพ่อหรือแม่ หรือทั้งพ่อและแม่ต้องไปทำงานในต่างถิ่น และทิ้งลูกให้อยู่กับผู้สูงอายุในบ้าน ซึ่งด้วยวัยที่ห่างกันเกินไป ทำให้การสื่อสารและความเข้าใจอาจจะไม่ตรงกัน ทำให้เด็กโตมาอย่างขาดความอบอุ่นได้ อย่างที่กำลังเป็นปัญหาในปัจจุบัน ด้วยเหตุผลข้างต้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลบางเขา จึงจัดทำโครงการ วัยเรียน Teen Safe Zone พื้นที่ปลอดภัยของวัยใส ประจำปีงบประมาณ 2568ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภูมิใจในตนเอง
  2. เพื่อให้นักเรียน เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
  3. เพื่อให้ นักเรียน เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
  4. เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเด็กและเยาวชนตำบลบางเขา ได้แก่ เครือข่าย To Be Number One เครือข่ายอถล.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งเครือข่าย To Be Number One
  2. อบรมและศึกษาดูงานนอกสถานที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 32
กลุ่มวัยทำงาน 12
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียน เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภูมิใจในตนเอง
  2. นักเรียน เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
  3. นักเรียน เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
  4. สามารถสร้างเครือข่ายเยาวชนในโรงเรียน เช่น TO BE NUMBER ONE สภาเด็กและเยาวชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียน เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภูมิใจในตนเอง
ตัวชี้วัด : นักเรียน เยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาและทักษะที่ได้รับการอบรม (ประเมินจาก แบบสอบถาม)
60.00 80.00

 

2 เพื่อให้นักเรียน เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
ตัวชี้วัด : นักเรียน เยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาและทักษะที่ได้รับการอบรม (ประเมินจาก แบบสอบถาม)
60.00 80.00

 

3 เพื่อให้ นักเรียน เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด : นักเรียน เยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาและทักษะที่ได้รับการอบรม (ประเมินจาก แบบสอบถาม)
60.00 80.00

 

4 เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเด็กและเยาวชนตำบลบางเขา ได้แก่ เครือข่าย To Be Number One เครือข่ายอถล.
ตัวชี้วัด : นักเรียน เยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาและทักษะที่ได้รับการอบรม (ประเมินจาก แบบสอบถาม)
60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 44
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 32
กลุ่มวัยทำงาน 12
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภูมิใจในตนเอง (2) เพื่อให้นักเรียน เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น (3) เพื่อให้ นักเรียน เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด (4) เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเด็กและเยาวชนตำบลบางเขา ได้แก่ เครือข่าย To Be Number One  เครือข่ายอถล.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งเครือข่าย To Be Number One (2) อบรมและศึกษาดูงานนอกสถานที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัยเรียน Teen Safe Zone พื้นที่ปลอดภัยของวัยใส จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 68-L3067-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุบล วัฒนศักดิ์ภูบาล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด