โครงการมหิดลใส่ใจ ห่างไกลฟันผุ
ชื่อโครงการ | โครงการมหิดลใส่ใจ ห่างไกลฟันผุ |
รหัสโครงการ | 68-L5253-2-09 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนมหิดล |
วันที่อนุมัติ | 11 มิถุนายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 29 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 28,450.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวศิรดา ไพโรจน์รชตะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.505,100.802place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 104 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเริ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1 - 3 ปี สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุมาจากพฤติกรรมในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็ดปวดเคี้ยวอาหารไม่ได้ ส่งผลต่อการพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้ การเกิดฟันผุในฟันน้ำนมนอกจากจะมีผลเสียต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอนหรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันเก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่างที่ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะซ้อนกัน หรือมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการแสดงออก
โรงเรียนมหิดล จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้านทันตกรรม "มหิดลใส่ใจ ห่างไกลฟันผุ" ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กโรงเรียนมหิดลทุกคนมีสุขภาพฟันที่ดี ได้รับการบริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปาก การให้ทันตสุขศึกษา การแปรงฟันที่ถูกวิธี การบำบัดรักษา และการติดตามประเมินผล คณะครู และผู้ปกครอง มีความรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพฟันของเด็กนักเรียน เมื่อเด็กนักเรียนมีสุขภาพร่างกาย สุขภาพจิตใจที่สมบูรณ์แล้ว จะส่งผลทำให้เด็กนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและป้องกันโรคฟันผุให้เด็กนักเรียน ด้วยการให้ความรู้เรื่องอาหารที่มีประโยชน์ต่อปากและฟัน และผลการเรียนรู้การแปรงฟันอย่างถูกวิธี นักเรียนโรงเรียนมหิดล มีสุขภาพฟันที่ดี และมีสุขนิสัยในการแปรงฟันที่ถูกต้อง |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 104 | 28,450.00 | 0 | 0.00 | |
1 ก.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | อบรมให้ความรู้ | 104 | 28,450.00 | - |
- นักเรียนโรงเรียนมหิดล มีสุขภาพฟันทีดี และมีสุขนิสัยในการแปรงฟันที่ถูกต้อง
- ผู้ปกครองและชุมชนมีแนวทางป้องกันและดูแลสุขภาพฟันของเด็กนักเรียนได้ดีขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 มิ.ย. 2568 09:01 น.