โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา (บ้านทุ่งเลียบ) สังกัด เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
หัวหน้าโครงการ
นางวลัยธร ปานแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา (บ้านทุ่งเลียบ) สังกัด เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L5275-03-003 เลขที่ข้อตกลง 24
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา (บ้านทุ่งเลียบ) สังกัด เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา (บ้านทุ่งเลียบ) สังกัด เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา รหัสโครงการ 68-L5275-03-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,678.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
“พฤติกรรมการติดหน้าจอ” ถือเป็นภัยร้ายอีกรูปแบบหนึ่งสำหรับกลุ่มคนทุกวัย โดยเฉพาะเด็กเล็ก ซึ่งเป็นวัยแห่งการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและจิตใจ หากมีการใช้เวลากับหน้าจอนานๆ ย่อมส่งผลกระทบทั้ง ด้านการสื่อสาร ทำให้พูดช้าพูดไม่ชัด ขาดความคิดสร้างสรรค์ และการจ้องมองจอภาพเป็นเวลานานๆ จะย่อมส่งผลเสียกับดวงตา ซึ่งปัจจุบันพบว่ามีผู้ปกครองจำนวนมากปล่อยให้เด็กเล็กเล่นโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ ฯลฯ โดยงานวิจัยของAnglia Ruskin Universityระบุว่าในช่วง COVID-19 เด็กนักเรียนระดับประถมศึกษาส่วนใหญ่ใช้เวลาหน้าจอ เพิ่มสูงขึ้นอีกโดยเฉลี่ยวันละ 1 ชั่วโมง 20 นาที กระทบต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต โดยช่วงวัยที่มีการใช้งานหน้าจอเพิ่มสูงขึ้นต่อวันมากที่สุด คือ เด็กอายุระหว่าง 6-10 ปี เพิ่มขึ้น 83 นาทีต่อวัน รองลงมาจากเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มีการติดจอเพิ่มขึ้น 35 นาที
“จักรยานขาไถ หรือ จักรยานทรงตัว” จึงเป็น อีกหนึ่งกิจกรรมที่ได้รับความนิยมในกลุ่มเด็กเล็ก ซึ่งเป็นจักรยานที่ไม่มีบันได การเคลื่อนตัวไปข้างหน้า ทำโดยการใช้ขาไถดันรถไปข้างหน้า เด็กเล็กตั้งแต่ 1 ขวบครึ่งไปจนถึง 5 ขวบ (วัยฟันน้ำนม) สามารถเล่นได้ ประโยชน์ของการเล่น “จักรยานขาไถ” มีทั้งการเรียนรู้เสริมทักษะการออกกำลังกาย ฝึกการทรงตัว
ลดพฤติกรรมเสี่ยง การติดจอแก่เด็กเล็ก ซึ่งในปัจจุบันพัฒนาไปสู่การแข่งขัน เป็นเวทีที่เปิดกว้างให้เด็กได้แสดงความสามารถทางด้านกีฬาอย่างเต็มที่ ช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้ทุกด้าน ทั้งการพัฒนากล้ามเนื้อ มัดเล็กมัดใหญ่ ให้แข็งแรง เป็นการฝึกการทรงตัวแก่เด็ก รวมทั้ง ช่วยฝึกสายตา การแยกแยะสี การประเมินระยะทาง การใช้มือและแขนเพื่อบังคับทิศทาง และการใช้กล้ามเนื้อขาที่ออกแรงเดิน
ปีการศึกษา 2568 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา (บ้านทุ่งเลียบ) มีเด็กเล็กอายุ ช่วงอายุ ๒ ถึง ๓ ปี จำนวน 38 คน ซึ่งจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมกลางแจ้งเช่นสนามเด็กเล่นสนามหญ้า ให้เด็กได้วิ่งปีนป่าย เตะฟุตบอล โยนบอลลงตะกร้า เล่นเครื่องเล่นสนาม ฯลฯ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านการทรงตัวและการพัฒนาของกล้ามเนื้อตามวัย จึงจัดทำ “โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา” ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ และส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้มีพัฒนาการสมวัย
- 2.เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การใช้จักรยานขาไถ Balance Bike
- 2.กิจกรรม Balance Bike training
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
26
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ออกกำลังกายและมีร่างกายแข็งแรง มีกล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่เหมาะสมกับวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ และส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้มีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : 1.เด็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรม ร้อยละ 100
0.00
2
2.เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 90 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่เหมาะสมกับวัยตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
26
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
26
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ และส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้มีพัฒนาการสมวัย (2) 2.เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การใช้จักรยานขาไถ Balance Bike (2) 2.กิจกรรม Balance Bike training
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L5275-03-003
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวลัยธร ปานแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา (บ้านทุ่งเลียบ) สังกัด เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
หัวหน้าโครงการ
นางวลัยธร ปานแก้ว
กันยายน 2568
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา (บ้านทุ่งเลียบ) สังกัด เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L5275-03-003 เลขที่ข้อตกลง 24
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา (บ้านทุ่งเลียบ) สังกัด เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา (บ้านทุ่งเลียบ) สังกัด เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา รหัสโครงการ 68-L5275-03-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,678.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
“พฤติกรรมการติดหน้าจอ” ถือเป็นภัยร้ายอีกรูปแบบหนึ่งสำหรับกลุ่มคนทุกวัย โดยเฉพาะเด็กเล็ก ซึ่งเป็นวัยแห่งการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและจิตใจ หากมีการใช้เวลากับหน้าจอนานๆ ย่อมส่งผลกระทบทั้ง ด้านการสื่อสาร ทำให้พูดช้าพูดไม่ชัด ขาดความคิดสร้างสรรค์ และการจ้องมองจอภาพเป็นเวลานานๆ จะย่อมส่งผลเสียกับดวงตา ซึ่งปัจจุบันพบว่ามีผู้ปกครองจำนวนมากปล่อยให้เด็กเล็กเล่นโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ ฯลฯ โดยงานวิจัยของAnglia Ruskin Universityระบุว่าในช่วง COVID-19 เด็กนักเรียนระดับประถมศึกษาส่วนใหญ่ใช้เวลาหน้าจอ เพิ่มสูงขึ้นอีกโดยเฉลี่ยวันละ 1 ชั่วโมง 20 นาที กระทบต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต โดยช่วงวัยที่มีการใช้งานหน้าจอเพิ่มสูงขึ้นต่อวันมากที่สุด คือ เด็กอายุระหว่าง 6-10 ปี เพิ่มขึ้น 83 นาทีต่อวัน รองลงมาจากเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มีการติดจอเพิ่มขึ้น 35 นาที
“จักรยานขาไถ หรือ จักรยานทรงตัว” จึงเป็น อีกหนึ่งกิจกรรมที่ได้รับความนิยมในกลุ่มเด็กเล็ก ซึ่งเป็นจักรยานที่ไม่มีบันได การเคลื่อนตัวไปข้างหน้า ทำโดยการใช้ขาไถดันรถไปข้างหน้า เด็กเล็กตั้งแต่ 1 ขวบครึ่งไปจนถึง 5 ขวบ (วัยฟันน้ำนม) สามารถเล่นได้ ประโยชน์ของการเล่น “จักรยานขาไถ” มีทั้งการเรียนรู้เสริมทักษะการออกกำลังกาย ฝึกการทรงตัว
ลดพฤติกรรมเสี่ยง การติดจอแก่เด็กเล็ก ซึ่งในปัจจุบันพัฒนาไปสู่การแข่งขัน เป็นเวทีที่เปิดกว้างให้เด็กได้แสดงความสามารถทางด้านกีฬาอย่างเต็มที่ ช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้ทุกด้าน ทั้งการพัฒนากล้ามเนื้อ มัดเล็กมัดใหญ่ ให้แข็งแรง เป็นการฝึกการทรงตัวแก่เด็ก รวมทั้ง ช่วยฝึกสายตา การแยกแยะสี การประเมินระยะทาง การใช้มือและแขนเพื่อบังคับทิศทาง และการใช้กล้ามเนื้อขาที่ออกแรงเดิน
ปีการศึกษา 2568 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา (บ้านทุ่งเลียบ) มีเด็กเล็กอายุ ช่วงอายุ ๒ ถึง ๓ ปี จำนวน 38 คน ซึ่งจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมกลางแจ้งเช่นสนามเด็กเล่นสนามหญ้า ให้เด็กได้วิ่งปีนป่าย เตะฟุตบอล โยนบอลลงตะกร้า เล่นเครื่องเล่นสนาม ฯลฯ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านการทรงตัวและการพัฒนาของกล้ามเนื้อตามวัย จึงจัดทำ “โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา” ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ และส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้มีพัฒนาการสมวัย
- 2.เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การใช้จักรยานขาไถ Balance Bike
- 2.กิจกรรม Balance Bike training
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 26 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ออกกำลังกายและมีร่างกายแข็งแรง มีกล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่เหมาะสมกับวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ และส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้มีพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด : 1.เด็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรม ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่ ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 90 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่เหมาะสมกับวัยตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 26 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 26 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ และส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้มีพัฒนาการสมวัย (2) 2.เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การใช้จักรยานขาไถ Balance Bike (2) 2.กิจกรรม Balance Bike training
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L5275-03-003
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวลัยธร ปานแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......