โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพประจำหมู่บ้าน (Health Station) ดูแลสุขภาพใกล้บ้านหมู่ที่ 3 บ้านตะโหมด
ชื่อโครงการ | โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพประจำหมู่บ้าน (Health Station) ดูแลสุขภาพใกล้บ้านหมู่ที่ 3 บ้านตะโหมด |
รหัสโครงการ | 2568-L3328-2-04 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อสม. หมู่3 บ้านตะโหมด |
วันที่อนุมัติ | 9 มิถุนายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 25 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 10,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | 1.นายอภัย สุวรรณจินดา 2.น.ส ภัคนันท์ ชนะสิทธิ์ 3.นางสมคิด สุวรรณจินดา 4.นางประโลมใจ จันทร์ดอน 5.นางเอียด หนูวุ่น เบอร์โทรติดต่อประสานงาน 0966892659 |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | หมู่ที่ 3 บ้านตะโหมด |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 25 มิ.ย. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 10,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 10,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 387 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคที่เป็นสาเหตุการตายของประชาชนในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ใน 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคหัวใจ โรคไตวายเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน สอดคล้องกับสถิติพบจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกปี สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่อย่างชัดเจน จังหวัดพัทลุงจึงกำหนดแผนการพัฒนาระบบสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในรูปแบบ NCD New Care by 3 หมอ โดยสอดคล้องประเด็นปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินงาน คือการจัดระบบบริการที่เชื่อมโยง สถานีสุขภาพ (Health Station) บูรณาการกับสามหมอ เพื่อให้ประชาชนเกิด Health literacy และมี Personal Health Record เพื่อให้เกิดการทำงานบูรณาการในระดับหมู่บ้าน จึงได้จัดตั้งสถานีสุขภาพประจำหมู่บ้าน เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการเข้ามาใช้สถานีสุขภาพ (Health station) อันจะส่งผลถึงการรับรู้สภาวะสุขภาพของประชาชน เพื่อประชาชนปรับพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม เชื่อมโยง บูรณาการกับระบบบริการสุขภาพ 3 หมอ เริ่มต้นจากประชาชนประเมินสุขภาพตนเอง ร่วมกับหมอคนที่หนึ่ง คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และส่งต่อข้อมูลสภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ ให้หมอคนที่สอง คือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำหน่วยบริการปฐมภูมิเพื่อประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพต่าง ๆ นำข้อมูลไปสู่ หมอคนที่สาม หมอประจำครอบครัว หรือแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว เพื่อการให้คำแนะนำ การดูแล หรือการรักษาที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อจัดตั้งสถานีสุขภาพประจำหมู่บ้าน มีการจัดตั้งสถานีสุขภาพประจำหมู่บ้าน |
||
2 | เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการเข้ามาใช้ สถานีสุขภาพ (Health station) สร้างการรับรู้สภาวะสุขภาพของประชาชนและปรับพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม มีการเข้ามาใช้สถานีสุขภาพ (Health station) สร้างการรับรู้สภาวะสุขภาพของประชาชนและปรับพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม |
||
3 | เพื่อสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือที่จำเป็นในสถานีสุขภาพประจำหมู่บ้าน มีวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือที่จำเป็นในสถานีสุขภาพประจำหมู่บ้าน |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
1 ประชาชนสามารถเข้าถึงการตรวจประเมินสถานะสุขภาพของตนเองเบื้องต้น
2 เพิ่มการเข้าถึงการใช้สถานีสุขภาพ (Health station) สร้างการรับรู้สภาวะสุขภาพของประชาชนและปรับพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
3 หมู่บ้านมีวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือที่จำเป็นในสถานีสุขภาพประจำหมู่บ้าน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 มิ.ย. 2568 14:37 น.