โครงการกินดี มีสุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการกินดี มีสุข ”
ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
พ.ต.ท.ภูบดินทร์ ทมราตรี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาแดง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการกินดี มีสุข
ที่อยู่ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5253-2-14 เลขที่ข้อตกลง 31/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกินดี มีสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกินดี มีสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกินดี มีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5253-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,656.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กวัยเรียนเป็นวัยแห่งการเตรียมพร้อมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ถ้าเด็กได้รับสิ่งแวดล้อมที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทุกๆ ด้าน เด็กก็จะสามารถปรับตัวให้เข้ากับประสบการณ์ใหมหรือสิ่งแวดล้อมใหม่ได้อย่างราบรื่น ในขณะเดียวกันเด็กวัยเรียนยังเป็นช่วงวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงหลายด้านทั้งทางร่างกาย อารมณ์และสังคม การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ล้วนมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอย่างมาก จึงพบว่าเด็กช่วงวัยนี้มีปัญหาทั้งการขาดสารอาหารและภาวะโภชนาการเกิน ปัญหาดังกล่าวจะทำให้เด็กเจริญเติบโตช้า เจ็บป่วยบ่อย ความสามารถในการเรียนรู้ด้อย ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนต่ำ และสมรรถภาพในการทำกิจกรรมและการเล่นกีฬาต่ำ ในขณะเดียวกันปัญหาโภชนาการเกินก็ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ ดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนได้กินอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ ในปริมาณและสัดส่วนที่พอเหมาะกับความต้องการของร่างกายและการประกอบกิจกรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายเป็นประจำ และพักผ่อนอย่างเพียงพอ
โรงเรียน ตชด.มหาราช 1 ได้ประกอบอาหารเลี้ยงนักเรียนในมื้อเช้าและมื้อกลางวัน โดยมีสารอาหารครบ 5 หมู่ เพียงพอต่อปริมาณนักเรียนในแต่ละวัน ในห้วงระยะเวลาที่ผ่านมาพบว่ามีนักเรียนที่ป่วยด้วยอาการปวดท้องมีจำนวนเพิ่มขึ้น จากการสอบถามทราบว่า ในมื้อเย็น ที่นักเรียนทานอาหารที่บ้าน ส่วนใหญ่จะทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น น้ำอัดลม บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ลูกชิ้น ยำชนิดต่างๆ เป็นต้น ซึ่งเป็นผลให้นักเรียนมีอาการปวดท้อง ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเรียนรู้และการเจริญเติบโตของร่างกาย เป็นผลมาจากผู้ปกครองไม่มีเวลาในการจัดหาอาหาร ไม่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ ซึ่งส่งผลให้นักเรียนเจริญเติบโตไม่สมวัย
ดังนั้น โรงเรียน ตชด.มหาราช 1 ได้เล็งเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้นักเรียน โรงเรียน ตชด.มหาราช 1 ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา มีความพร้อมในการเรียนรู้และมีร่างกายเจริญเติบโตสมวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
182
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนในโรงเรียน ตชด.มหาราช 1 และผู้ปกครอง เลือกรับประทานอาหารได้ถูกต้อง
- นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจอาหารและโภชนาการ
- นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
182
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
182
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการกินดี มีสุข จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5253-2-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( พ.ต.ท.ภูบดินทร์ ทมราตรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการกินดี มีสุข ”
ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
พ.ต.ท.ภูบดินทร์ ทมราตรี
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5253-2-14 เลขที่ข้อตกลง 31/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกินดี มีสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกินดี มีสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกินดี มีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5253-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,656.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กวัยเรียนเป็นวัยแห่งการเตรียมพร้อมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ถ้าเด็กได้รับสิ่งแวดล้อมที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทุกๆ ด้าน เด็กก็จะสามารถปรับตัวให้เข้ากับประสบการณ์ใหมหรือสิ่งแวดล้อมใหม่ได้อย่างราบรื่น ในขณะเดียวกันเด็กวัยเรียนยังเป็นช่วงวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงหลายด้านทั้งทางร่างกาย อารมณ์และสังคม การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ล้วนมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอย่างมาก จึงพบว่าเด็กช่วงวัยนี้มีปัญหาทั้งการขาดสารอาหารและภาวะโภชนาการเกิน ปัญหาดังกล่าวจะทำให้เด็กเจริญเติบโตช้า เจ็บป่วยบ่อย ความสามารถในการเรียนรู้ด้อย ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนต่ำ และสมรรถภาพในการทำกิจกรรมและการเล่นกีฬาต่ำ ในขณะเดียวกันปัญหาโภชนาการเกินก็ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ ดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนได้กินอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ ในปริมาณและสัดส่วนที่พอเหมาะกับความต้องการของร่างกายและการประกอบกิจกรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายเป็นประจำ และพักผ่อนอย่างเพียงพอ
โรงเรียน ตชด.มหาราช 1 ได้ประกอบอาหารเลี้ยงนักเรียนในมื้อเช้าและมื้อกลางวัน โดยมีสารอาหารครบ 5 หมู่ เพียงพอต่อปริมาณนักเรียนในแต่ละวัน ในห้วงระยะเวลาที่ผ่านมาพบว่ามีนักเรียนที่ป่วยด้วยอาการปวดท้องมีจำนวนเพิ่มขึ้น จากการสอบถามทราบว่า ในมื้อเย็น ที่นักเรียนทานอาหารที่บ้าน ส่วนใหญ่จะทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น น้ำอัดลม บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ลูกชิ้น ยำชนิดต่างๆ เป็นต้น ซึ่งเป็นผลให้นักเรียนมีอาการปวดท้อง ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเรียนรู้และการเจริญเติบโตของร่างกาย เป็นผลมาจากผู้ปกครองไม่มีเวลาในการจัดหาอาหาร ไม่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ ซึ่งส่งผลให้นักเรียนเจริญเติบโตไม่สมวัย
ดังนั้น โรงเรียน ตชด.มหาราช 1 ได้เล็งเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้นักเรียน โรงเรียน ตชด.มหาราช 1 ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา มีความพร้อมในการเรียนรู้และมีร่างกายเจริญเติบโตสมวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 182 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนในโรงเรียน ตชด.มหาราช 1 และผู้ปกครอง เลือกรับประทานอาหารได้ถูกต้อง
- นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจอาหารและโภชนาการ
- นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ ตัวชี้วัด : นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 182 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 182 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการกินดี มีสุข จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5253-2-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( พ.ต.ท.ภูบดินทร์ ทมราตรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......