โครงการอาหารปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการอาหารปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3359-2-12 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมสร้างเสริมสุขภาพโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลบ้านเขาแดง |
วันที่อนุมัติ | 10 มิถุนายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 15 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 12,640.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายทรง ชุมพล |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางอุทัยวรรณ กำเหนิดฤทธิ์ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.652,100.107place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อน หรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้ แต่มีปริมาณที่มากกว่าที่กำหนดก็ย่อมให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภค ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่รัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องให้การสนับสนุน ควบคุม ดูแล เฝ้าระวัง และป้องกัน ให้กับประชาชน เน้นให้ประชาชนได้บริโภคอาหาร ปลอดภัย มีคุณค่าอย่างทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่ ปัจจุบันปัญหาสำคัญที่พบในอาหารสด มักจะมีสารปนเปื้อนอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวหรืออาจถึงกับชีวิตได้ ส่วนใหญ่ร้านค้าจะเห็นประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าผู้บริโภค ทำให้ได้รับสารปนเปื้อนเข้าไปสะสมในร่างกาย ชมรมสร้างเสริมสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาแดง ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและประกันคุณภาพของอาหาร และเป็นการพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อรณรงค์ส่งเสริม ความรู้ ด้านอาหารปลอดภัยและผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ประชาชน
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาโรงอาหารในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก ร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย ตามมาตรฐานสุขาภิบาล 1.โรงอาหาร ร้านอาหาร แผงลอย ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐานมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|
1 | ตรวจโรงอาหารโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก แผงลอย และสุ่มตรวจอาหารสด เครื่องสำอางในร้านชำ(1 ก.ค. 2568-31 ส.ค. 2568) | 12,640.00 | |||
รวม | 12,640.00 |
1 ตรวจโรงอาหารโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก แผงลอย และสุ่มตรวจอาหารสด เครื่องสำอางในร้านชำ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 30 | 12,640.00 | 0 | 0.00 | |
1 ก.ค. 68 - 31 ส.ค. 68 | ตรวจโรงอาหารโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก แผงลอย และสุ่มตรวจอาหารสด เครื่องสำอางในร้านชำ | 30 | 12,640.00 | - | ||
1.โรงอาหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพญาขันและโรงอาหารโรงเรียนวัดเขาแดงผ่านเกณฑ์มาตรฐานการประเมิน 2.ร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานการประเมิน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 มิ.ย. 2568 17:12 น.