โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม |
รหัสโครงการ | 2568-L3328-1-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.บ้านควนอินนอโม |
วันที่อนุมัติ | 9 มิถุนายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 25 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 7,350.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายนิวัติ นุ้ยฉิม |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | หมู่บ้านในเขตความรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนอินนอโม |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 25 มิ.ย. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 7,350.00 | |||
รวมงบประมาณ | 7,350.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 150 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญ หากไม่มีการดำเนินการป้องกัน และรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ โรคเบาหวานจะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากมายรวมทั้งการเกิดแผลที่เท้า ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย อีกทั้งยังเป็น 1. หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญ หากไม่มีการดำเนินการป้องกัน และรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ โรคเบาหวานจะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากมายรวมทั้งการเกิดแผลที่เท้า ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย อีกทั้งยังเป็น สาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยเบาหวานต้องถูกตัดเท้า หรือตัดขาและ เสียชีวิตได้ แผลที่เท้าเป็นปัญหา เรื้อรัง และมีผลต่อคุณภาพชีวิตสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษา สาเหตุสำคัญของการเกิดแผลที่เท้าคือโรคหลอดเลือดส่วนปลาย และภาวะปลายประสาทเท้าเสื่อม ความผิด ปกติของการเคลื่อนไหวข้อต่อบริเวณเท้า หากสามารถตรวจพบและให้การรักษาตั้งแต่ระยะแรก มีการเฝ้าระวังการ เกิดแผล จะสามารถลดอุบัติการการเกิดแผลที่เท้าและการถูกตัดเท้าหรือตัดขาได้ จากที่ผู้ขอประเมินได้ตรวจประเมินระดับ ความเสี่ยงของการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ที่มารับบริการ ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนอินนอโม ประจำปี 2565 - 2567 มีผู้ป่วยเบาหวาน ทั้งหมดจำนวน 184 ราย ได้ดำเนินการตรวจเท้าทั่วไปและตรวจประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลเบาหวานที่เท้า จำนวน 139 ราย พบว่ามีระดับความเสี่ยงของการเกิดแผลที่เท้าระดับเสี่ยงต่ำ (Row risk) จำนวน 126 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.65 และระดับเสี่ยงปานกลาง - ระดับเสี่ยงสูง (Moderate Risk - High Risk) จำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.35 และในจำนวนกลุ่มเสี่ยงนี้ มีผู้ป่วยเบาหวานที่มีประวัติเคยถูกตัดนิ้วเท้าแล้ว จำนวน 2 ราย และยังคงมีแผลเรื้อรัง คลินิก NCD รพ.สต.บ้านควนอินนอโม จึงมีแนวคิดในการพัฒนาการเฝ้าระวังสุขภาพเท้าเบาหวาน (Primary diabetic footcare) ในคลินิก ตามบทบาทของสถานบริการระดับปฐมภูมิ โดยการสนับสนุนและให้ความรู้โรคเบาหวาน ฝึกทักษะการดูแลรักษาเท้าแก่ผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดูแลรักษาเท้าผู้ป่วยเบาหวานได้ตั้งแต่ระยะแรก จะสามารถลดอุบัติการณ์การเกิด แผลและการถูกตัดขาหรือตัดเท้าได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลเท้า การบริหารและนวดเท้า 1.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินเท้า ร้อยละ 80 |
||
2 | เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการถูกตัดเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน 2.ผู้ป่วยเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ถูกต้อง ร้อยละ 80 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | กิจกรรมประชุมให้ความรู้และการตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวานโดยแบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมวันละ 50 คนจำนวน 3 วัน ในช่วงเวลา 13.00 น. ถึง 16.00 น.(25 มิ.ย. 2568-30 ก.ย. 2568) | 0.00 | ||||
รวม | 0.00 |
1 กิจกรรมประชุมให้ความรู้และการตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวานโดยแบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมวันละ 50 คนจำนวน 3 วัน ในช่วงเวลา 13.00 น. ถึง 16.00 น. | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | |
- ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลเท้า และมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ถูกต้อง
- ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินเท้า และได้รับการดูแลติดตาม ตามแนวทางการการดูแลเท้า
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 มิ.ย. 2568 09:11 น.