โครงการสตรีลำปลอกสดใส ยิ้มรับวัยทอง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสตรีลำปลอกสดใส ยิ้มรับวัยทอง ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุชจรี ทองสง อสม. ม.6 บ้านลำปลอก
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการสตรีลำปลอกสดใส ยิ้มรับวัยทอง
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-34 เลขที่ข้อตกลง 31/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรีลำปลอกสดใส ยิ้มรับวัยทอง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีลำปลอกสดใส ยิ้มรับวัยทอง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรีลำปลอกสดใส ยิ้มรับวัยทอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-2-34 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ข้อมูลล่าสุดเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 พบประชากรโลกมีจำนวนทั้งสิ้น 7,180 ล้านคน ในจำนวนนี้พบว่ามีอายุมากกว่า 60 ปี ถึงร้อยละ 12.8 และทางองค์การสหประชาชาติได้คาดการณ์ว่าในอีกประมาณ 10 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2566) ประชากรผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 200 ล้านคน ทำให้ประชากรผู้สูงอายุทั่วโลกจะมีมากกว่า 1,100 ล้านคน นอกจากนี้ยังมีการคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2593 ประชากรผู้สูงอายุอาจมีถึงร้อยละ 25 ของประชากรทั้งหมด สำหรับประเทศไทย ตัวเลขล่าสุดมีประชากรทั้งประเทศประมาณ 67 ล้านคน อายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไปมีถึงร้อยละ 11.9 หรือประมาณ 8 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นผู้สูงอายุเพศหญิงประมาณร้อยละ 55.6 หรือ 4.5ล้านคน
รศ.พญ.มยุรี จิรภิญโญ หัวหน้าหน่วยสตรีวัยหมดระดู ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และนายกสมาคมวัยหมดระดูแห่งประเทศไทย กล่าวว่า ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 โดยความหมายของสังคมผู้สูงอายุ หมายถึง ประเทศที่มีประชากรสูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการลดลงของภาวะเจริญพันธุ์ อัตราการเกิดน้อยลง เนื่องจากปัจจุบันนิยมครองสถานะโสดกันมากขึ้น แต่งงานช้าลง มีการคุมกำเนิดที่ดีขึ้น การแพทย์ดีขึ้นทำให้อัตราตายลดลง และมีชีวิตยืนยาวขึ้น โดยอายุขัยเฉลี่ยของหญิงไทยจะอยู่ที่ 73 ปี เมื่อเทียบกับ 10 ปีก่อนซึ่งอยู่ที่ 71 ปี เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ แน่นอนว่าโอกาสในการเกิดโรคต่าง ๆ ย่อมมากขึ้นตามไปด้วย มีการสำรวจพบว่าในวัย 60-69 ปี เป็นโรคเรื้อรังถึงร้อยละ 69.9 และร้อยละ 83.3 ในวัย 90 ปี จึงต้องมีการดูแลรักษาสุขภาพให้ดี เพื่อที่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทยจะได้เป็นสังคมที่มีคุณภาพ และปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ หญิงไทยเมื่อเข้าสู่วัยหมดระดู หรือที่เรียกกันว่า ‘วัยทอง’ มักพบปัญหาหลายประการด้วยกัน โดยอาการที่นำมาก่อนประมาณ 2-3 ปี มีตั้งแต่ร้อนวูบวาบ อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ใจสั่น นอนไม่หลับ เริ่มเฉื่อยชา เบื่อหน่าย ซึ่งอาการเหล่านี้จะปรากฏมากบ้างน้อยบ้างแตกต่างกันไป อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการทำงานของรังไข่ มีการสร้างฮอร์โมนลดลง และเมื่อเข้าสู่วัยหมดระดูอาจมีภาวะต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมาย อาทิ ภาวะที่เกิดขึ้นกับอวัยวะสืบพันธุ์ ได้แก่ ช่องคลอดแห้ง ปัสสาวะบ่อยขึ้น ปัสสาวะเล็ด กลั้นไม่อยู่ ทางเดินปัสสาวะอักเสบได้ง่าย เนื่องจากเยื่อบุต่าง ๆ บางลง ขณะเดียวกันผิวหนังจะแห้งและมีอาการคันร่วมด้วย
“อาการที่เกิดขึ้นในช่วงวัยทองดังที่กล่าวมานี้ ใช่ว่าจะเกิดขึ้นกับผู้หญิงทุกราย บางรายอาจเป็นมาก บางรายอาจเป็นน้อย เช่น อาการร้อนวูบวาบ ซึ่งแพทย์จะพิจารณาว่ามีอาการมากน้อยระดับไหน โดยอาการส่วนใหญ่มักจะเกิดในช่วงกลางคืน ทั้งอาการร้อนวูบวาบ เหงื่อออก นอนไม่ได้ ต้องลุกขึ้นมาอาบน้ำ พอนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ ตื่นเช้าก็จะไม่สดชื่นแจ่มใส อารมณ์ไม่ดี หากอาการเหล่านี้เป็นมากจนรบกวนชีวิตประจำวัน และถ้าไม่มีข้อห้ามใช้ในผู้ป่วยกลุ่มนี้ แพทย์จะรักษาด้วยการให้ฮอร์โมน เพราะฮอร์โมนถือว่าเป็นยาที่ดีที่สุดสำหรับกลุ่มที่มีอาการร้อนวูบวาบ โดยฮอร์โมนนอกจากจะช่วยรักษาอาการร้อนวูบวาบแล้ว ในรายที่มีอาการหงุดหงิด เฉื่อยชา เบื่อหน่าย การให้ฮอร์โมนก็อาจช่วยได้เช่นกัน” นอกจากนี้เมื่อเข้าสู่วัยทองยังอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงของกระดูกได้ เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง ทำให้กระดูกบางลงและมีโอกาสเป็นโรคกระดูกพรุน กระดูกหักได้ ในผู้ป่วยบางรายจะมีอาการปวดเมื่อยตามตัว ปวดกระดูก ปวดกล้ามเนื้อร่วมด้วย ซึ่งเมื่อเกิดอาการต่าง ๆ ดังที่กล่าวมา ถ้าเป็นเพียงเล็กน้อยคงไม่เดือดร้อนอะไร แต่ถ้าเป็นมาก ๆ ย่อมส่งผลต่อคุณภาพชีวิต อาจต้องพิจารณาให้ฮอร์โมนในการรักษา โดยเฉพาะในรายที่อายุน้อยกว่า 60 ปี แต่ทั้งนี้การใช้ฮอร์โมนจะต้องมีข้อบ่งชี้ที่ชัดเจน และต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์
วัยทอง คือวัยของผู้หญิงและผู้ชายที่มีอายุในช่วง 40-59 ปี ซึ่งอยู่ระหว่างวัยเจริญพันธ์และวัยผู้สูงอายุ เป็นวัยที่มีความสามารถในการผลิตฮอร์โมนเพศลดน้อยลง จนเกิดการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและมีโอกาสเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพได้ง่าย สตรีวัยทองหรือสตรีวัยหมดประจำเดือน สตรีในวัย 40-59ปี ที่มีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง เนื่องจากรังไข่หยุดทำงาน ทำให้เกิดผลกระทบการดำเนินชีวิตประจำวัน หมู่ที่ 6 บ้านลำปลอก มีประชากร ทั้งหมด 904 คน มีสตรี อายุ 40-59 ปี จำนวน 141 คน ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 6 บ้านลำปลอก เล็งเห็นความสำคัญของการเตรียมความพร้อมในการรับมือเข้าสู่วัยทองของสตรีในชุมชนบ้านลำปลอก ฉะนั้น เพื่อป้องกันและลดผลกระทบของคนวัยทอง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้กลุ่มสตรีวัยทองมีความรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับวัยทอง และเตรียมความพร้อมรับมือกับวัยทองได้อย่างถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ที่เข้าสู่วัยทอง เกี่ยวกับสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์และจิตใจ
- 2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาสุขภาพของกลุ่มสตรีในด้านสุขภาพกายและจิตใจ
- 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มสตรีได้ทราบเกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยทอง
- 4. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ทราบแนวทางการป้องกัน และลดผลกระทบของวัยทอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการเข้าสู่วัยทอง
- ผู้เข้าอบรมมีศักยภาพ และสุขภาพกาย ใจที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยทอง
- ผู้เข้าอบรมทราบและปฏิบัติในการเลือกอาหารและโภชนาการได้เหมาะสมกับวัยทอง
- ผู้เข้าอบรมสามารถแนะนำสมาชิกในชุมชน และคนในครอบครัวเกี่ยวกับวัยทอง เพื่อป้องกันและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้เมื่อเข้าสู่วัยทอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ที่เข้าสู่วัยทอง เกี่ยวกับสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์และจิตใจ
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาสุขภาพของกลุ่มสตรีในด้านสุขภาพกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มสตรีได้ทราบเกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยทอง
ตัวชี้วัด :
4
4. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ทราบแนวทางการป้องกัน และลดผลกระทบของวัยทอง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ที่เข้าสู่วัยทอง เกี่ยวกับสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์และจิตใจ (2) 2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาสุขภาพของกลุ่มสตรีในด้านสุขภาพกายและจิตใจ (3) 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มสตรีได้ทราบเกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยทอง (4) 4. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ทราบแนวทางการป้องกัน และลดผลกระทบของวัยทอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสตรีลำปลอกสดใส ยิ้มรับวัยทอง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-34
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนุชจรี ทองสง อสม. ม.6 บ้านลำปลอก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสตรีลำปลอกสดใส ยิ้มรับวัยทอง ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุชจรี ทองสง อสม. ม.6 บ้านลำปลอก
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-34 เลขที่ข้อตกลง 31/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรีลำปลอกสดใส ยิ้มรับวัยทอง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีลำปลอกสดใส ยิ้มรับวัยทอง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรีลำปลอกสดใส ยิ้มรับวัยทอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-2-34 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ข้อมูลล่าสุดเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 พบประชากรโลกมีจำนวนทั้งสิ้น 7,180 ล้านคน ในจำนวนนี้พบว่ามีอายุมากกว่า 60 ปี ถึงร้อยละ 12.8 และทางองค์การสหประชาชาติได้คาดการณ์ว่าในอีกประมาณ 10 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2566) ประชากรผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 200 ล้านคน ทำให้ประชากรผู้สูงอายุทั่วโลกจะมีมากกว่า 1,100 ล้านคน นอกจากนี้ยังมีการคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2593 ประชากรผู้สูงอายุอาจมีถึงร้อยละ 25 ของประชากรทั้งหมด สำหรับประเทศไทย ตัวเลขล่าสุดมีประชากรทั้งประเทศประมาณ 67 ล้านคน อายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไปมีถึงร้อยละ 11.9 หรือประมาณ 8 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นผู้สูงอายุเพศหญิงประมาณร้อยละ 55.6 หรือ 4.5ล้านคน รศ.พญ.มยุรี จิรภิญโญ หัวหน้าหน่วยสตรีวัยหมดระดู ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และนายกสมาคมวัยหมดระดูแห่งประเทศไทย กล่าวว่า ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 โดยความหมายของสังคมผู้สูงอายุ หมายถึง ประเทศที่มีประชากรสูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการลดลงของภาวะเจริญพันธุ์ อัตราการเกิดน้อยลง เนื่องจากปัจจุบันนิยมครองสถานะโสดกันมากขึ้น แต่งงานช้าลง มีการคุมกำเนิดที่ดีขึ้น การแพทย์ดีขึ้นทำให้อัตราตายลดลง และมีชีวิตยืนยาวขึ้น โดยอายุขัยเฉลี่ยของหญิงไทยจะอยู่ที่ 73 ปี เมื่อเทียบกับ 10 ปีก่อนซึ่งอยู่ที่ 71 ปี เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ แน่นอนว่าโอกาสในการเกิดโรคต่าง ๆ ย่อมมากขึ้นตามไปด้วย มีการสำรวจพบว่าในวัย 60-69 ปี เป็นโรคเรื้อรังถึงร้อยละ 69.9 และร้อยละ 83.3 ในวัย 90 ปี จึงต้องมีการดูแลรักษาสุขภาพให้ดี เพื่อที่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทยจะได้เป็นสังคมที่มีคุณภาพ และปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ หญิงไทยเมื่อเข้าสู่วัยหมดระดู หรือที่เรียกกันว่า ‘วัยทอง’ มักพบปัญหาหลายประการด้วยกัน โดยอาการที่นำมาก่อนประมาณ 2-3 ปี มีตั้งแต่ร้อนวูบวาบ อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ใจสั่น นอนไม่หลับ เริ่มเฉื่อยชา เบื่อหน่าย ซึ่งอาการเหล่านี้จะปรากฏมากบ้างน้อยบ้างแตกต่างกันไป อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการทำงานของรังไข่ มีการสร้างฮอร์โมนลดลง และเมื่อเข้าสู่วัยหมดระดูอาจมีภาวะต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมาย อาทิ ภาวะที่เกิดขึ้นกับอวัยวะสืบพันธุ์ ได้แก่ ช่องคลอดแห้ง ปัสสาวะบ่อยขึ้น ปัสสาวะเล็ด กลั้นไม่อยู่ ทางเดินปัสสาวะอักเสบได้ง่าย เนื่องจากเยื่อบุต่าง ๆ บางลง ขณะเดียวกันผิวหนังจะแห้งและมีอาการคันร่วมด้วย “อาการที่เกิดขึ้นในช่วงวัยทองดังที่กล่าวมานี้ ใช่ว่าจะเกิดขึ้นกับผู้หญิงทุกราย บางรายอาจเป็นมาก บางรายอาจเป็นน้อย เช่น อาการร้อนวูบวาบ ซึ่งแพทย์จะพิจารณาว่ามีอาการมากน้อยระดับไหน โดยอาการส่วนใหญ่มักจะเกิดในช่วงกลางคืน ทั้งอาการร้อนวูบวาบ เหงื่อออก นอนไม่ได้ ต้องลุกขึ้นมาอาบน้ำ พอนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ ตื่นเช้าก็จะไม่สดชื่นแจ่มใส อารมณ์ไม่ดี หากอาการเหล่านี้เป็นมากจนรบกวนชีวิตประจำวัน และถ้าไม่มีข้อห้ามใช้ในผู้ป่วยกลุ่มนี้ แพทย์จะรักษาด้วยการให้ฮอร์โมน เพราะฮอร์โมนถือว่าเป็นยาที่ดีที่สุดสำหรับกลุ่มที่มีอาการร้อนวูบวาบ โดยฮอร์โมนนอกจากจะช่วยรักษาอาการร้อนวูบวาบแล้ว ในรายที่มีอาการหงุดหงิด เฉื่อยชา เบื่อหน่าย การให้ฮอร์โมนก็อาจช่วยได้เช่นกัน” นอกจากนี้เมื่อเข้าสู่วัยทองยังอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงของกระดูกได้ เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง ทำให้กระดูกบางลงและมีโอกาสเป็นโรคกระดูกพรุน กระดูกหักได้ ในผู้ป่วยบางรายจะมีอาการปวดเมื่อยตามตัว ปวดกระดูก ปวดกล้ามเนื้อร่วมด้วย ซึ่งเมื่อเกิดอาการต่าง ๆ ดังที่กล่าวมา ถ้าเป็นเพียงเล็กน้อยคงไม่เดือดร้อนอะไร แต่ถ้าเป็นมาก ๆ ย่อมส่งผลต่อคุณภาพชีวิต อาจต้องพิจารณาให้ฮอร์โมนในการรักษา โดยเฉพาะในรายที่อายุน้อยกว่า 60 ปี แต่ทั้งนี้การใช้ฮอร์โมนจะต้องมีข้อบ่งชี้ที่ชัดเจน และต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์ วัยทอง คือวัยของผู้หญิงและผู้ชายที่มีอายุในช่วง 40-59 ปี ซึ่งอยู่ระหว่างวัยเจริญพันธ์และวัยผู้สูงอายุ เป็นวัยที่มีความสามารถในการผลิตฮอร์โมนเพศลดน้อยลง จนเกิดการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและมีโอกาสเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพได้ง่าย สตรีวัยทองหรือสตรีวัยหมดประจำเดือน สตรีในวัย 40-59ปี ที่มีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง เนื่องจากรังไข่หยุดทำงาน ทำให้เกิดผลกระทบการดำเนินชีวิตประจำวัน หมู่ที่ 6 บ้านลำปลอก มีประชากร ทั้งหมด 904 คน มีสตรี อายุ 40-59 ปี จำนวน 141 คน ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 6 บ้านลำปลอก เล็งเห็นความสำคัญของการเตรียมความพร้อมในการรับมือเข้าสู่วัยทองของสตรีในชุมชนบ้านลำปลอก ฉะนั้น เพื่อป้องกันและลดผลกระทบของคนวัยทอง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้กลุ่มสตรีวัยทองมีความรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับวัยทอง และเตรียมความพร้อมรับมือกับวัยทองได้อย่างถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ที่เข้าสู่วัยทอง เกี่ยวกับสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์และจิตใจ
- 2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาสุขภาพของกลุ่มสตรีในด้านสุขภาพกายและจิตใจ
- 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มสตรีได้ทราบเกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยทอง
- 4. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ทราบแนวทางการป้องกัน และลดผลกระทบของวัยทอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการเข้าสู่วัยทอง
- ผู้เข้าอบรมมีศักยภาพ และสุขภาพกาย ใจที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยทอง
- ผู้เข้าอบรมทราบและปฏิบัติในการเลือกอาหารและโภชนาการได้เหมาะสมกับวัยทอง
- ผู้เข้าอบรมสามารถแนะนำสมาชิกในชุมชน และคนในครอบครัวเกี่ยวกับวัยทอง เพื่อป้องกันและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้เมื่อเข้าสู่วัยทอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ที่เข้าสู่วัยทอง เกี่ยวกับสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์และจิตใจ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาสุขภาพของกลุ่มสตรีในด้านสุขภาพกายและจิตใจ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มสตรีได้ทราบเกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยทอง ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | 4. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ทราบแนวทางการป้องกัน และลดผลกระทบของวัยทอง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ที่เข้าสู่วัยทอง เกี่ยวกับสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์และจิตใจ (2) 2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาสุขภาพของกลุ่มสตรีในด้านสุขภาพกายและจิตใจ (3) 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มสตรีได้ทราบเกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยทอง (4) 4. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ทราบแนวทางการป้องกัน และลดผลกระทบของวัยทอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสตรีลำปลอกสดใส ยิ้มรับวัยทอง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-34
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนุชจรี ทองสง อสม. ม.6 บ้านลำปลอก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......