โครงการชุมชนร่วมใจ สร้างสุขภาพและป้องกันโรค
ชื่อโครงการ | โครงการชุมชนร่วมใจ สร้างสุขภาพและป้องกันโรค |
รหัสโครงการ | 6830230205 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละไกรทอง |
วันที่อนุมัติ | 16 มิถุนายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 21,170.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายฮานี สาและ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.627,101.64place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 65 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ด้วยปัจจุบันคนส่วนใหญ่จะมีปัญหาสุขภาพทั้งในเรื่องของการเจ็บป่วย และปัญหาโรคประจําตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และโรคมะเร็ง ซึ่งโรคดังกล่าวนอกจากจะมีปัจจัยจากพันธุกรรมแล้วยังมีสาเหตุจากพฤติกรรมมาเกี่ยวข้องในเรื่อง
ของการออกกําลังกายการรับประทานอาหารการดูแลสุขภาพจิตก็ยังเป็นสาเหตุสําคัญทําให้เกิดปัญหาสุขภาพซึ่งการส่งเสริมสุขภาพ หรือ การดูแลสุขภาพ ช่วยให้คนในชุมชนร่วมใจ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สามารถที่จะช่วยให้สุขภาพแข็งแรงป้องกันโรคต่างๆได้ รวมทั้งควบคุมความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรคประจําตัวได้โดยการออกกําลังกายที่เหมาะสมกับสุขภาพสัปดาห์ละ 3 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที การรับประทานอาหารที่เหมาะสมจะช่วยให้สุขภาพแข็งแรง เช่น ลดอาหารหวานเค็มมันเน้นรับประทานผักและผลไม้ เพิ่มขึ้นรวมทั้งการดูแลสุขภาพจิตโดยเน้นกิจกรรมทางศาสนาเป็นตัวช่วยซึ่งจะทําให้สามารถดํารงชีวิตอย่างมีความสุข คนส่วนใหญ่จะมี ปัญหาสุขภาพทั้งในเรื่องของการเจ็บป่วยและปัญหาโรคประจําตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และโรคมะเร็ง ซึ่ง โรคดังกล่าวนอกจากจะมีปัจจัยจากพันธุกรรมแล้วยังมีสาเหตุจากพฤติกรรมมาเกี่ยวข้องในเรื่องของการออกกําลังกายการรับประทาน
อาหารการดูแลสุขภาพจิตถึงยังเป็นสาเหตุสําคัญทําให้เกิดปัญหาสุขภาพซึ่งการส่งเสริมสุขภาพ หรือการดูแลสุขภาพ ในเรื่องของการสร้าง
เสริมสุขภาพและป้องกันโรคสามารถที่จะช่วยให้สุขภาพแข็งแรงป้องกันโรคต่างๆได้รวมทั้งควบคุมความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของ โรคประจําตัวได้โดยการออกกําลังกายที่เหมาะสมกับสุขภาพสัปดาห์ละ 3 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที การรับประทานอาหารที่เหมาะสม จะช่วยให้สุขภาพแข็งแรง เช่น ลดอาหารหวานเค็มมันเน้นรับประทานผักและผลไม้เพิ่มขึ้นรวมทั้งการดูแลสุขภาพจิตโดยเน้นกิจกรรมทาง ศาสนาเป็นตัวช่วยซึ่งจะทําให้สามารถดํารงชีวิตอย่างมีความสุข
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการ สร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค ร้อยละ 85 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการ สร้างเสริมสุข |
||
2 | ข้อที่ 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะ เจตคติที่ดีต่อการสร้างเสริม ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะ เจตคติที่ดีต่อการสร้าง |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
1.ขั้นเตรียมการ (P)
-ประชุม แข็ง ให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่บุคลากรในการดําเนินงานตามโครงการชุมชนร่วมใจ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
-จัดทําและขออนุมัติโครงการฯ
-ทําคําสั่งผู้รับผิดชอบงาน/โครงการเพื่อติดตามผล 2.ขั้นนําเนินการ (D)
-ประสานเครือข่ายวิทยากร
3.ประชาสัมพันธ์ประชาชนในหมู่บ้านบิลยา เข้าร่วมกิจกรรมโครงการชุมชนร่วมใจ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
4.ดําเนินงานการจัดเตรียมสถานที่
5.ดําเนินการโครงการชุมชนร่วมใจ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 6.วิทยากรบรรยายให้ความรู้ - ความหมายของการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
-สถานการณ์โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และโรคมะเร็ง
- ธรรมชาติวิทยาของการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และโรคมะเร็ง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 มิ.ย. 2568 14:22 น.