โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย ตลาดนัดขยะบ้านทุ่งโพธิ์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย ตลาดนัดขยะบ้านทุ่งโพธิ์ ”
หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งโพธิ์
หัวหน้าโครงการ
1. นายอนุพงษ์ มณีสว่าง 2. นางสาวมาริษา บุญรุ่ง 3. นางกัลยา แก้วทองด้วง 4. นางชฎาพร มณีสว่าง 5. นางทัศนีย์ อัตตะ เบอร์โทรติดต่อประสานงาน 091-739-3941 / 083-193-8679
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย ตลาดนัดขยะบ้านทุ่งโพธิ์
ที่อยู่ หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งโพธิ์ จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L3328-2-21 เลขที่ข้อตกลง 27/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย ตลาดนัดขยะบ้านทุ่งโพธิ์ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งโพธิ์
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย ตลาดนัดขยะบ้านทุ่งโพธิ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย ตลาดนัดขยะบ้านทุ่งโพธิ์ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งโพธิ์ รหัสโครงการ 2568-L3328-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ขยะมูลฝอยขยะหรือของเสีย แบ่งเป็น มูลฝอยธรรมดาทั่วไป ได้แก่ มูลฝอยสด เศษอาหาร กระดาษ โฟม พลาสติก ขวด
แก้ว โลหะ ฯลฯ และของเสียอันตราย ได้แก่ มูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาล กากสารเคมี สารเคมีกำจัดแมลง หลอด
ฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี่ใช้แล้ว แหล่งกำเนิดของเสียที่สำคัญ ได้แก่ ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรมและพื้นที่เกษตรกรรม ปริมาณ
ขยะมูลฝอยดังกล่าว ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ขยะที่เกิดขึ้นทำให้เกิดปริมาณมูลฝอยตกค้าง ตามสถานที่ต่าง ๆ หรือมีการ
นำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ได้แก่อากาศเสียน้ำเสียแหล่งพาหะนำ
โรค จากมูลฝอยตกค้างบนพื้นจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพ
อนามัยของประชาชน รวมถึงเกิดเหตุรำคาญและความไม่น่าดู จากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมดทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน การ
จัดการขยะเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับประเทศและระดับชุมชน เพราะนอกจากก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อ
สุขภาพแล้ว ยังส่งผลต่อเศรษฐกิจอีกด้วย ได้ตระหนักถึงความสำคัญจึงจัดโครงการ คัดแยกขยะที่ถูกวิธีเพื่อวิถีครอบครัวเก่าร้างที่
ยั่งยืน เป็นการรณรงค์ให้ชาวบ้านหมูที่ 1 บ้านบ้านทุ่งโพธิ์มีความรู้ ความเข้าใจ ในขยะแต่ละประเภทและสร้างความตระหนักใน
การคัดแยกขยะ อย่างถูกวิธีและสามารถนำที่มีประโยชน์ไปสร้างเป็นมูลค่าได้ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
- เพื่อสร้างครัวเรือนตัวอย่างที่คัดแยกขยะได้ถูกวิธี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย สร้างครัวเรือนตัวอย่างที่คัดแยกขยะได้ถูกวิธี
- 2. เปิดตลาดนัดขยะบ้านทุ่ง โพธิ์ เดือนละ 1 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
5
กลุ่มวัยทำงาน
15
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี
- ผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากได้รับความรู้สามารถนำปฏิบัติได้จริงในครัวเรือน
- ลดปริมาณขยะและเสริมสร้างความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกต้องเหมาะสม
- มีรูปแบบการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมในหมู่บ้าน
- ลดการเกิดโรคภัย ไข้ เจ็บ จากขยะในหมู่บ้านได้
- ปลูกจิตสำนึกการคัดแยกขยะเริ่มต้นที่ครัวเรือนและปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจำวันได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะ
2
เพื่อสร้างครัวเรือนตัวอย่างที่คัดแยกขยะได้ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 2.มีครัวเรือนตัวอย่างที่คัดแยกขยะได้ถูกวิธี ไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
5
กลุ่มวัยทำงาน
15
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง (2) เพื่อสร้างครัวเรือนตัวอย่างที่คัดแยกขยะได้ถูกวิธี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย สร้างครัวเรือนตัวอย่างที่คัดแยกขยะได้ถูกวิธี (2) 2. เปิดตลาดนัดขยะบ้านทุ่ง โพธิ์ เดือนละ 1 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย ตลาดนัดขยะบ้านทุ่งโพธิ์ จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L3328-2-21
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( 1. นายอนุพงษ์ มณีสว่าง 2. นางสาวมาริษา บุญรุ่ง 3. นางกัลยา แก้วทองด้วง 4. นางชฎาพร มณีสว่าง 5. นางทัศนีย์ อัตตะ เบอร์โทรติดต่อประสานงาน 091-739-3941 / 083-193-8679 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย ตลาดนัดขยะบ้านทุ่งโพธิ์ ”
หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งโพธิ์
หัวหน้าโครงการ
1. นายอนุพงษ์ มณีสว่าง 2. นางสาวมาริษา บุญรุ่ง 3. นางกัลยา แก้วทองด้วง 4. นางชฎาพร มณีสว่าง 5. นางทัศนีย์ อัตตะ เบอร์โทรติดต่อประสานงาน 091-739-3941 / 083-193-8679
กันยายน 2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งโพธิ์ จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L3328-2-21 เลขที่ข้อตกลง 27/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย ตลาดนัดขยะบ้านทุ่งโพธิ์ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งโพธิ์
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย ตลาดนัดขยะบ้านทุ่งโพธิ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย ตลาดนัดขยะบ้านทุ่งโพธิ์ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งโพธิ์ รหัสโครงการ 2568-L3328-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ขยะมูลฝอยขยะหรือของเสีย แบ่งเป็น มูลฝอยธรรมดาทั่วไป ได้แก่ มูลฝอยสด เศษอาหาร กระดาษ โฟม พลาสติก ขวด
แก้ว โลหะ ฯลฯ และของเสียอันตราย ได้แก่ มูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาล กากสารเคมี สารเคมีกำจัดแมลง หลอด
ฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี่ใช้แล้ว แหล่งกำเนิดของเสียที่สำคัญ ได้แก่ ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรมและพื้นที่เกษตรกรรม ปริมาณ
ขยะมูลฝอยดังกล่าว ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ขยะที่เกิดขึ้นทำให้เกิดปริมาณมูลฝอยตกค้าง ตามสถานที่ต่าง ๆ หรือมีการ
นำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ได้แก่อากาศเสียน้ำเสียแหล่งพาหะนำ
โรค จากมูลฝอยตกค้างบนพื้นจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพ
อนามัยของประชาชน รวมถึงเกิดเหตุรำคาญและความไม่น่าดู จากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมดทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน การ
จัดการขยะเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับประเทศและระดับชุมชน เพราะนอกจากก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อ
สุขภาพแล้ว ยังส่งผลต่อเศรษฐกิจอีกด้วย ได้ตระหนักถึงความสำคัญจึงจัดโครงการ คัดแยกขยะที่ถูกวิธีเพื่อวิถีครอบครัวเก่าร้างที่
ยั่งยืน เป็นการรณรงค์ให้ชาวบ้านหมูที่ 1 บ้านบ้านทุ่งโพธิ์มีความรู้ ความเข้าใจ ในขยะแต่ละประเภทและสร้างความตระหนักใน
การคัดแยกขยะ อย่างถูกวิธีและสามารถนำที่มีประโยชน์ไปสร้างเป็นมูลค่าได้ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
- เพื่อสร้างครัวเรือนตัวอย่างที่คัดแยกขยะได้ถูกวิธี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย สร้างครัวเรือนตัวอย่างที่คัดแยกขยะได้ถูกวิธี
- 2. เปิดตลาดนัดขยะบ้านทุ่ง โพธิ์ เดือนละ 1 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 5 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 15 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี
- ผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากได้รับความรู้สามารถนำปฏิบัติได้จริงในครัวเรือน
- ลดปริมาณขยะและเสริมสร้างความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกต้องเหมาะสม
- มีรูปแบบการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมในหมู่บ้าน
- ลดการเกิดโรคภัย ไข้ เจ็บ จากขยะในหมู่บ้านได้
- ปลูกจิตสำนึกการคัดแยกขยะเริ่มต้นที่ครัวเรือนและปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจำวันได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะ |
|
|||
2 | เพื่อสร้างครัวเรือนตัวอย่างที่คัดแยกขยะได้ถูกวิธี ตัวชี้วัด : 2.มีครัวเรือนตัวอย่างที่คัดแยกขยะได้ถูกวิธี ไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 5 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 15 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง (2) เพื่อสร้างครัวเรือนตัวอย่างที่คัดแยกขยะได้ถูกวิธี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย สร้างครัวเรือนตัวอย่างที่คัดแยกขยะได้ถูกวิธี (2) 2. เปิดตลาดนัดขยะบ้านทุ่ง โพธิ์ เดือนละ 1 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะเพื่อหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคภัย ตลาดนัดขยะบ้านทุ่งโพธิ์ จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L3328-2-21
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( 1. นายอนุพงษ์ มณีสว่าง 2. นางสาวมาริษา บุญรุ่ง 3. นางกัลยา แก้วทองด้วง 4. นางชฎาพร มณีสว่าง 5. นางทัศนีย์ อัตตะ เบอร์โทรติดต่อประสานงาน 091-739-3941 / 083-193-8679 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......