กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหนูจ๋ารู้ไว้ ปลอดภัยจากการจมน้ำ ”
ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายณัฐวุฒิ อธิโนปุญวัฒน์




ชื่อโครงการ โครงการหนูจ๋ารู้ไว้ ปลอดภัยจากการจมน้ำ

ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2568-L5179-02-26 เลขที่ข้อตกลง 29/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูจ๋ารู้ไว้ ปลอดภัยจากการจมน้ำ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูจ๋ารู้ไว้ ปลอดภัยจากการจมน้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูจ๋ารู้ไว้ ปลอดภัยจากการจมน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2568-L5179-02-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 81,582.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานการจมน้ำระดับโลก (Global Report on Drowning) ขององค์การอนามัยโลก พบว่า ทุกปีมีเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ 140,219 คน โดยเสียชีวิตเป็นอันดับ 3 รองจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และเอดส์ ในประเทศไทยพบว่า การจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี ในทุกๆ วัน จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต 2 คน สถานการณ์การจมน้ำของเด็กในอายุต่ำกว่า 15 ปี ในปี พ.ศ.2561 พบเด็กจมน้ำเสียชีวิต 681 คน ลดลงจากปี 2560 จำนวน 36 คน เด็กเล็ก (อายุ 0-2 ปี) จมน้ำเสียชีวิตถึง 152 คน (ร้อยละ 22.3 ของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี อัตราป่วยตายจากการตกน้ำ จมน้ำของเด็ก ร้อยละ 26.7 วันเสาร์ และอาทิตย์ พบว่า เกิดเหตุมากที่สุด (ร้อยละ 44.4) ช่วงเวลาที่เกิดเหตุมากที่สุด คือ 15.00 - 17.49 น. (ร้อยละ 40.0) เดือนเมษายน พบเด็กจมน้ำมากที่สุด และแหล่งน้ำที่เด็กจมน้ำ และเสียชีวิตส่วนใหญ่ คือ แหล่งน้ำธรรมชาติ ชมรม อปพร.ตำบลตลิ่งชัน ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงจัดโครงการหนูจ๋ารู้ไว้ ปลอดภัยจากการจมน้ำ เพื่อส่งเสริมความรู้ และฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ รวมถึงการช่วยเหลือผู้ที่จมน้ำอย่างถูกต้อง และรู้จักวิธีการช่วยเหลือ และการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มร้อยละของเด็ก และเยาวชนในพื้นที่สามารถช่วยเหลือตนเองจากการจมน้ำได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
  2. กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
  3. คัดกรองกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรม (เด็กวัยเรียน) เพื่อเข้าร่วมโครงการ
  4. อบรมการป้องกันตนเอง และการช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำ (ตะโกน-โยน-ยื่น)
  5. ฝึกภาคปฏิบัติในการช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่นจากการจมน้ำ (ตะโกน-โยน-ยื่น-การพยุงตัวใน น้ำ-การลอยตัวในน้ำ)
  6. กิจกรรมประเมินเด็กวัยเรียน และเยาวชน สามารถช่วยเหลือตัวเอง และผู้อื่นได้ (ถูกต้อง และปลอดภัย) หรือไม่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ด้านการป้องกันการจมน้ำ และการเอาชีวิตรอดจากการประสบเหตุทางน้ำเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
  • ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้จักวิธีการช่วยเหลือ เพื่อช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกวิธี
  • ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สามารถช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่นจาการจมน้ำได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มร้อยละของเด็ก และเยาวชนในพื้นที่สามารถช่วยเหลือตนเองจากการจมน้ำได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก และเยาวชนในพื้นที่มีทักษะการช่วยเหลือตนเอง/การเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ
41.31 65.28

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มร้อยละของเด็ก และเยาวชนในพื้นที่สามารถช่วยเหลือตนเองจากการจมน้ำได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน (2) กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ (3) คัดกรองกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรม (เด็กวัยเรียน) เพื่อเข้าร่วมโครงการ (4) อบรมการป้องกันตนเอง และการช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำ (ตะโกน-โยน-ยื่น) (5) ฝึกภาคปฏิบัติในการช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่นจากการจมน้ำ (ตะโกน-โยน-ยื่น-การพยุงตัวใน    น้ำ-การลอยตัวในน้ำ) (6) กิจกรรมประเมินเด็กวัยเรียน และเยาวชน สามารถช่วยเหลือตัวเอง และผู้อื่นได้ (ถูกต้อง และปลอดภัย) หรือไม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูจ๋ารู้ไว้ ปลอดภัยจากการจมน้ำ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2568-L5179-02-26

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณัฐวุฒิ อธิโนปุญวัฒน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด