โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด ”
ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวทักษิณา ใบหมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด
ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-02-27 เลขที่ข้อตกลง 30/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2568-L5179-02-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพปัจจุบันปัญหาสังคมไทยปัญหาในชุมชน คือ ปัญหายาเสพติดได้แพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว เด็ก และเยาวชนในวัยเรียน ซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาชาติในอนาคตมีความสุ่มเสี่ยงสูงที่จะติดยาเสพติดโดยเฉพาะนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 , 5 และ 6 ซึ่งเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ล่อแหลม อยากรู้อยากลอง ขาดความยั้งคิด ติดเพื่อน มีปัญหาในครอบครัว รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดการชี้แนะให้รู้ถึงพิษภัยยาเสพติด ความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณี และค่านิยมต่างชาติได้หลั่งไหลเข้าสู่ประเทศไทยสิ่งเหล่านี้ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต เนื่องจากปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาเป็นเรื่องที่นักเรียน เยาวชนเป็นส่วนหนึ่งของปัญหา และได้รับผลกระทบโดยตรง ดังนั้น การให้เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้ และมีส่วนร่วมในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นแนวทางให้เกิดการยอมรับ และยึดถือปฏิบัติ อีกทั้งเป็นแนวร่วมในการดำเนินงาน ง่ายต่อการขยายผลไปสู่เยาวชนทุกคน กิจกรรมที่เยาวชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ได้แก่ การจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันยาเสพติดต่างๆ การจัดกิจกรรมเพื่อนเพื่อเพื่อนการจัดกิจกรรมชมรมต่อต้านยาเสพติด โดยกิจกรรมเหล่านี้ ควรมีที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำต่อเยาวชน ได้มีโอกาสเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมอันเป็นประโยชน์เช่นนี้ เป็นการพัฒนาบุคลิกภาพ ความเป็นผู้นำ และทักษะทางสังคมให้แก่เยาวชนที่มีส่วนร่วมอีกด้วย ทางบัณฑิตอาสาตำบลตลิ่งชัน ได้ตระหนัก และเห็นความสำคัญถึงปัญหาดังกล่าว เพื่อเป็นการสนองต่อนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการป้องกัน และแก้ปัญหายาเสพติดในหมู่เด็กและเยาวชน ปัญหาของเยาวชนส่วนใหญ่ในชุมชนออกระหว่างเรียน คิดเป็นร้อยละ 30 ติดน้ำกระท่อมร้อยละ 20 สาเหตุเกิดการชักจูงในกลุ่มเพื่อน ปัญหาครอบครัว
กลุ่มบัณฑิตอาสาตำบลตลิ่งชัน จึงจะจัดโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด เพื่อป้องกันเยาวชนไม่ให้ไปยุ่ง หรือข้องเกี่ยวกับยาเสพติด ป้องกัน และแก้ไขโดยเน้นการให้ความรู้แก่เยาวชน และผู้ปกครองเกี่ยวกับยาเสพติด และส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เพื่อให้ห่างไกลจากยาเสพติด และเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เยาวชนมีเกราะป้องกันตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- ประชาสัมพันธ์ เปิดรับสมัครเด็ก และเยาวชนเข้าร่วมโครงการ
- การสร้าง และพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายการเฝ้าระวัง ให้มีองค์ความรู้ และความเข้าใจในการป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน
- สร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนต่อต้านยาเสพติด
- กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
8
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก และเยาวชน มีความตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดที่มีต่อตนเอง และผู้อื่น
- เด็ก และเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใน และภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
- เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการต่อต้านยาเสพติดระหว่างภาครัฐ โรงเรียน และชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เยาวชนมีเกราะป้องกันตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชนมีเกราะป้องกันตนเอง
82.35
65.78
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
48
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
8
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีเกราะป้องกันตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ประชาสัมพันธ์ เปิดรับสมัครเด็ก และเยาวชนเข้าร่วมโครงการ (3) การสร้าง และพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายการเฝ้าระวัง ให้มีองค์ความรู้ และความเข้าใจในการป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน (4) สร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนต่อต้านยาเสพติด (5) กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-02-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวทักษิณา ใบหมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด ”
ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวทักษิณา ใบหมะ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-02-27 เลขที่ข้อตกลง 30/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2568-L5179-02-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพปัจจุบันปัญหาสังคมไทยปัญหาในชุมชน คือ ปัญหายาเสพติดได้แพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว เด็ก และเยาวชนในวัยเรียน ซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาชาติในอนาคตมีความสุ่มเสี่ยงสูงที่จะติดยาเสพติดโดยเฉพาะนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 , 5 และ 6 ซึ่งเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ล่อแหลม อยากรู้อยากลอง ขาดความยั้งคิด ติดเพื่อน มีปัญหาในครอบครัว รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดการชี้แนะให้รู้ถึงพิษภัยยาเสพติด ความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณี และค่านิยมต่างชาติได้หลั่งไหลเข้าสู่ประเทศไทยสิ่งเหล่านี้ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต เนื่องจากปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาเป็นเรื่องที่นักเรียน เยาวชนเป็นส่วนหนึ่งของปัญหา และได้รับผลกระทบโดยตรง ดังนั้น การให้เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้ และมีส่วนร่วมในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นแนวทางให้เกิดการยอมรับ และยึดถือปฏิบัติ อีกทั้งเป็นแนวร่วมในการดำเนินงาน ง่ายต่อการขยายผลไปสู่เยาวชนทุกคน กิจกรรมที่เยาวชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ได้แก่ การจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันยาเสพติดต่างๆ การจัดกิจกรรมเพื่อนเพื่อเพื่อนการจัดกิจกรรมชมรมต่อต้านยาเสพติด โดยกิจกรรมเหล่านี้ ควรมีที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำต่อเยาวชน ได้มีโอกาสเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมอันเป็นประโยชน์เช่นนี้ เป็นการพัฒนาบุคลิกภาพ ความเป็นผู้นำ และทักษะทางสังคมให้แก่เยาวชนที่มีส่วนร่วมอีกด้วย ทางบัณฑิตอาสาตำบลตลิ่งชัน ได้ตระหนัก และเห็นความสำคัญถึงปัญหาดังกล่าว เพื่อเป็นการสนองต่อนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการป้องกัน และแก้ปัญหายาเสพติดในหมู่เด็กและเยาวชน ปัญหาของเยาวชนส่วนใหญ่ในชุมชนออกระหว่างเรียน คิดเป็นร้อยละ 30 ติดน้ำกระท่อมร้อยละ 20 สาเหตุเกิดการชักจูงในกลุ่มเพื่อน ปัญหาครอบครัว กลุ่มบัณฑิตอาสาตำบลตลิ่งชัน จึงจะจัดโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด เพื่อป้องกันเยาวชนไม่ให้ไปยุ่ง หรือข้องเกี่ยวกับยาเสพติด ป้องกัน และแก้ไขโดยเน้นการให้ความรู้แก่เยาวชน และผู้ปกครองเกี่ยวกับยาเสพติด และส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เพื่อให้ห่างไกลจากยาเสพติด และเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เยาวชนมีเกราะป้องกันตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- ประชาสัมพันธ์ เปิดรับสมัครเด็ก และเยาวชนเข้าร่วมโครงการ
- การสร้าง และพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายการเฝ้าระวัง ให้มีองค์ความรู้ และความเข้าใจในการป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน
- สร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนต่อต้านยาเสพติด
- กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 8 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก และเยาวชน มีความตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดที่มีต่อตนเอง และผู้อื่น
- เด็ก และเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใน และภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
- เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการต่อต้านยาเสพติดระหว่างภาครัฐ โรงเรียน และชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เยาวชนมีเกราะป้องกันตนเอง ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชนมีเกราะป้องกันตนเอง |
82.35 | 65.78 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 48 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 8 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีเกราะป้องกันตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ประชาสัมพันธ์ เปิดรับสมัครเด็ก และเยาวชนเข้าร่วมโครงการ (3) การสร้าง และพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายการเฝ้าระวัง ให้มีองค์ความรู้ และความเข้าใจในการป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน (4) สร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนต่อต้านยาเสพติด (5) กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัยยาเสพติด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-02-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวทักษิณา ใบหมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......