กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำปลอดภัย
รหัสโครงการ 68-L1536-02-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านคลองคุ้ย
วันที่อนุมัติ 8 มกราคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 7,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายชลอ ลัคนาวิวัฒน์ ผอ.รร.บ้านคลองคุ้ย
พี่เลี้ยงโครงการ สำนักเลขานุการกองทุน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.737,99.724place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม ประจำปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ/กิจกรรม ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย ชื่อกองทุน กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม  สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข [ข้อ 7(1)]  สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น [ข้อ 7(2)]  สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ [ข้อ 7(3)]  สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 7(4)]  สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ [ข้อ 7(5)] หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ  หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.  หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล  หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของรัฐ เช่น สสอ.  หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน กองการศึกษาฯ  กลุ่มหรือองค์กรประชาชนตั้งแต่ 5 คน วันอนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ ตั้งแต่ วันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 ถึง  วันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2568 งบประมาณ จำนวน 7,200 บาท หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การว่ายน้ำมีความสำคัญในการดำรงชีวิตในปัจจุบันเป็นอย่างมาก เพื่อที่จะได้ดูแลตัวเองให้รอดพ้นจากอุบัติเหตุทางน้ำ แล้วยังสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมได้ ตลอดจนรู้จักการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามหลักมาตรฐานสากลซึ่งจะเกิดความปลอดภัยทั้งผู้ประสบเหตุและผู้ที่ให้การช่วยเหลือการว่ายน้ำเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยทำให้สุขภาพกายและใจที่แข็งแรง สามารถใช้ร่างกายทุกส่วน เหมาะสำหรับทุกเพศทุกวัย อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มความปลอดภัยจากการจมน้ำ ปัจจุบันอุบัติเหตุทีเกิดในเด็กและเยาวชนมีอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอุบัติเหตุจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ที่เสียชีวิตมากเป็นอันดับ 1 เฉลี่ยปีละ 1,300-1,500 คนต่อปี หรือเฉลี่ย 3-4 คนต่อวัน และอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กและเยาวชนจะมีสถิติพุ่งสูงขึ้นในช่วงปิดเทอม การเสริมทักษะและการเรียนรู้ที่จะให้เด็กและเยาวชนว่ายน้ำเป็น จึงเป็นสิ่งสำคัญในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น
ด้วยเหตุผลดังกล่าว ทางโรงเรียนบ้านคลองคุ้ย จึงจัดโครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัยขึ้นเพื่อให้นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำ สามารถช่วยตนเองได้เมื่ออยู่ในภาวะจมน้ำ และมีทักษะการออกกำลังกายโดยการว่ายน้ำ วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) ขั้นเตรียม (PLAN) 1. ประชุมปรึกษาหารือคณะทำงานเพื่อชี้แจง ร่วมวางแผนกิจกรรม 2. เขียนโครงการ และเสนอขออนุมัติโครงการ 3. สำรวจนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4. ประสานงานบุคลากร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประสานงานกับสำนักงานเทศบาลตำบลห้วยยอด เรื่องการใช้บริการสระว่ายน้ำ 5. ประชาสัมพันธ์ รายละเอียดโครงการให้ผู้ปกครอง นักเรียนทราบ เพื่อจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ส่วนตัว ขั้นดำเนินงาน (DO) 6. จัดกลุ่มนักเรียนตามระดับชั้นและความสามารถในการว่ายน้ำ จำนวน 15 คน ใช้เวลา 3 วัน 7. ดำเนินกิจกรรมนำนักเรียนไปเรียนว่ายน้ำที่สระว่ายน้ำสำนักงานเทศบาลตำบลห้วยยอด โดยเชิญวิทยากรมาสอนนักเรียน ติดตามและตรวจสอบ (CHECK) 8. ติดตามตรวจสอบจำนวนนักเรียนที่สามารถว่ายน้ำได้เพิ่มขึ้น จำนวนนักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการว่ายน้ำ
9. ประเมินผลโครงการ และความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม 10. สรุปผล และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ
ปรับปรุง (ACT)   11. เสนอแนะแนวทางการดำเนินงาน เพื่อหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขโครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนสามารถว่ายน้ำได้อย่างถูกวิธี 2. นักเรียนมีสุขภาพร่างกาย สมบูรณ์ทุกด้าน วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำ สามารถช่วยตนเองได้เมื่ออยู่ในภาวะจมน้ำ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100


เป้าหมาย
เป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จำนวน 15 คน 2. นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการว่ายน้ำ สามารถช่วยตนเองได้เมื่ออยู่ในภาวะจมน้ำเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50


กิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อย

ชนิดกิจกรรม งบประมาณ ระบุวัน/ช่วงเวลา โครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย 1.1 กิจกรรมย่อย
(ว่ายน้ำเป็น
เล่นน้ำปลอดภัย) 1. ค่าวิทยากรสอนว่ายน้ำ 1 คน ชั่วโมงละ 600 บาท
จำนวน 9 ชั่วโมง = 600x9 = 5,400 บาท 2. ค่าบริการใช้สระ
จำนวน 15 คน คนละ 20 บาทต่อวัน  15x20x3=900 บาท 3. ค่ายานพาหนะเดินทาง วันละ 300 บาท 3 วัน
= 900 บาท มกราคม - มีนาคม 2568
รวม 7,200  บาท
ถัวเฉลี่ยทุกรายการ

  7. สรุปแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 7.1 หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ (ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) ชื่อหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน........................................................................................................  7.1.1 หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.  7.1.2 หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล  7.1.3 หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของรัฐ เช่น สสอ.  7.1.4 หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน  7.1.5 กลุ่มหรือองค์กรประชาชน 7.2 ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10)  7.2.1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข [ข้อ 7(1)]  7.2.2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น [ข้อ 7(2)]  7.2.3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ [ข้อ 7(3)]  7.2.4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 7(4)]  7.2.5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ [ข้อ 7(5)] 7.3 กลุ่มเป้าหมายหลัก (ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)  7.3.1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด  จำนวน.............................  7.3.2 กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน.............................  7.3.3 กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน 40 คน  7.3.4 กลุ่มวัยทำงาน จำนวน.............................  7.3.5.1 กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน.............................  7.3.5.2 กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน.............................  7.3.6 กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน.............................  7.3.7 กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน.............................  7.3.8 สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 7(4)]     7.4 กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมายหลัก  7.4.1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด        7.4.1.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ  7.4.1.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง  7.4.1.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพก่อนคลอดและหลังคลอด  7.4.1.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้  7.4.1.5 การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่  7.4.1.6 การคัดกรองและดูแลรักษามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม  7.4.1.7 การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก  7.4.1.8 อื่นๆ (ระบุ) ..............................................................................................................  7.4.2 กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน  7.4.2.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ  7.4.2.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง  7.4.2.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ  7.4.2.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้  7.4.2.5 การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย/กระบวนการเรียนรู้/ความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์  7.4.2.6 การส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามวัย  7.4.2.7 การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก  7.4.2.8 อื่นๆ (ระบุ) ...............................................................................  7.4.3 กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน  7.4.3.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ  7.4.3.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง  7.4.3.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ  7.4.3.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้  7.4.3.5 การส่งสริมพัฒนาการตามวัย/กระบวนการเรียนรู้/ความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์  7.4.3.6 การส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามวัย  7.4.3.7 การป้องกันและลดปัญหาด้านเพศสัมพันธ์/การตั้งครรภ์ไม่พร้อม  7.4.3.8 การป้องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอฮอร์  7.4.3.9 อื่นๆ (ระบุ) ………………………………………………………


 7.4.4 กลุ่มวัยทำงาน  7.4.4.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ  7.4.4.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง  7.4.4.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ  7.4.4.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้  7.4.4.5 การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มวัยทำงานและการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมในการทำงาน  7.4.4.6 การส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตแก่กลุ่มวัยทำงาน  7.4.4.7 การป้องกันและลดปัญหาด้านเพศสัมพันธ์/การตั้งครรภ์ไม่พร้อม  7.4.4.8 การป้องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอฮอร์  7.4.4.9 อื่นๆ (ระบุ) ...................................................................................  7.4.5.1 กลุ่มผู้สูงอายุ  7.4.5.1.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ  7.4.5.1.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง  7.4.5.1.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ  7.4.5.1.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้  7.4.5.1.5 การส่งเสริมพัฒนาทักษะทางกายและใจ  7.4.5.1.6 การคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะซึมเศร้า  7.4.5.1.7 การคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะข้อเข่าเสื่อม  7.4.5.1.8 อื่นๆ (ระบุ) ..................................................................................  7.4.5.2 กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  7.4.5.2.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ  7.4.5.2.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง  7.4.5.2.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ  7.4.5.2.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้  7.4.5.2.5 การคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง  7.4.5.2.6 การคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ  7.4.5.2.7 การคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  7.4.5.2.8 การคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง  7.4.5.2.9 อื่นๆ (ระบุ) ..................................................................................  7.4.6 กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ  7.4.6.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ  7.4.6.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง  7.4.6.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ  7.4.6.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้  7.4.6.5 การส่งเสริมพัฒนาทักษะทางกายและใจ  7.4.6.6 การคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะซึมเศร้า  7.4.6.7 การคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะข้อเข่าเสื่อม  7.4.6.8 อื่นๆ (ระบุ) .....................................................................................  7.4.7 กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง  7.4.7.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ  7.4.7.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง  7.4.7.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ  7.4.7.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้  7.4.7.5 การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ  7.4.7.6 อื่นๆ (ระบุ) .....................................................................................  7.4.8 สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 7(4)]  7.4.8.1 อื่นๆ (ระบุ) .....................................................................................

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 มิ.ย. 2568 13:17 น.