โครงการตรวจคัดกรองไวรัสตับอักเสบบีและซี ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการตรวจคัดกรองไวรัสตับอักเสบบีและซี ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 2568-L3306-02-044 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อสม. รพ.สต.บ้านพูด |
วันที่อนุมัติ | 26 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 26 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 14,240.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางอารี ถานีโกด |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.349,99.958place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เผยสถานการณ์ของโรคตับอักเสบทั่วโลก พบว่าทั่วโลกมีผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและซีมากกว่า 350 ล้านคน ซึ่งส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 1.1 ล้านคนในแต่ละปี และคาดการณ์ว่าภายในปี พ.ศ.2583 จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคตับอักเสบสูงกว่าผู้เสียชีวิตจากเอชไอวี มาลาเรียและวัณโรครวมกัน ส่วนสถานการณ์ในประเทศไทย พบผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ประมาณ 2.2 - 3 ล้านคน โดยการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B virus : HBV) ส่งผลต่อการเจ็บป่วย เช่น มะเร็งตับ พบในเพศชาย (33.4 ต่อแสนประชากร) และพบในเพศหญิง (12.3 ต่อแสนประชากร) กลุ่มอายุที่พบสูงสุด คือกลุ่มอายุ 45 - 54 ปี รองลงมา คือ กลุ่มอายุ 55 - 64 ปี และ 35 - 44 ปี อัตราป่วย 4.26, 3.43 และ 2.55 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ พบผู้ป่วยใหม่ในทุกเดือนโดยพบสูงสุดในเดือน ตุลาคมจำนวนผู้ป่วย เท่ากับ 130 ราย และต่ำสุดในเดือน ธันวาคม และ สิงหาคม เท่ากับ 77 ราย โดยในปี พ.ศ.2550 พบผู้ป่วยใหม่สูงกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปีในทุกเดือนในบรรดาโรคร้ายที่คุกคามร่างกายเราได้
สาเหตุของโรคตับอักเสบส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส โดยเฉพาะตับอักเสบบีและซี โดยติดต่อทางเลือดและสารคัดหลั่ง จากแม่สู่ลูกและเกิดก่อนปี พ.ศ.2535 เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อโดยไม่ป้องกัน การสักเจาะหรือการฝังเข็มโดยอุปกรณ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อไม่ถูกต้อง ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี โดยให้ครบชุด 3 เข็ม ส่วนโรคตับอักเสบซีไม่มีวัคซีนป้องกัน แต่สามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยการทานยาต้านไวรัสให้ครบ 12 สัปดาห์ โรคไวรัสตับอักเสบบีและซี เป็นปัญหาคุกคามทำให้ผู้ติดเชื้อมีปัญหาตับอักเสบเรื้อรัง ตับแข็ง ตับวาย และกลายเป็นมะเร็งตับ ไวรัสตับอักเสบซี ถูกค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2532 เป็นไวรัสตับอักเสบชนิดหนึ่งที่ทำให้เกิดการอักเสบในตับ สามารถทำให้เกิดการตับอักเสบทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรังตลอดจนตับแข็งและมะเร็งตับ ความรุนแรงของไวรัสชนิดนี้คือ เป็นตับอักเสบเรื้อรังมากกว่าชนิดอื่น และยังไม่มีวัคซีนป้องกันการติดเชื้อ ทำได้ก็เพียงการให้ยาลดไวรัสและป้องกันการเกิดมะเร็งตับเท่านั้น ทั้งนี้ หากประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี ให้เข้ารับการคัดกรองและเข้าสู่ระบบริการรักษาโดยเร็ว เพื่อป้องกันการติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี ภาวะตับแข็ง และโรคมะเร็งตับ เพื่อนำไปสู่การกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซีให้หมดไปภายในปี 2573 และเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองการติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี จำนวน 1 ครั้ง
ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพูด ตำบลคลองเฉลิมได้เห็นความสำคัญของการให้ความรู้ คัดกรอง ค้นหา ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และไวรัสตับอักเสบซี ปี 2568 เพื่อหาแนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี และการส่งต่อเพื่อเข้าสู่ระบบการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี |
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัย รักษา ร้อยละ 100 ของผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยรักษา |
||
3 | ข้อที่ 3 เพื่อให้ ประชาชนได้รับความรู้เรื่องโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี และการป้องกัน ร้อยละ 80 ของประชาชนได้รับความรู้เรื่องโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี และการป้องกัน |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | มี.ค. 68 | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 1. กิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องการป้องกัน และควบคุมโรค แก่ อสม. และเจ้าหน้าที่ จำนวน 107 คน เรื่องโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี(1 เม.ย. 2568-30 ก.ย. 2568) | 3,040.00 | |||||||
2 | 2 กิจกรรม จัดรณรงค์ตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี(1 เม.ย. 2568-30 ก.ย. 2568) | 11,200.00 | |||||||
3 | 3 กิจกรรม ประชุมสรุปผลการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี โดย อสม. จำนวน 101 คน ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน 6 คน รวมเป็น ๑๐7 คน(1 เม.ย. 2568-30 ก.ย. 2568) | 0.00 | |||||||
4 | 4.สรุป รายงานผลโครงการ(1 เม.ย. 2568-30 ก.ย. 2568) | 0.00 | |||||||
รวม | 14,240.00 |
1 1. กิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องการป้องกัน และควบคุมโรค แก่ อสม. และเจ้าหน้าที่ จำนวน 107 คน เรื่องโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 107 | 3,040.00 | 0 | 0.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องการป้องกัน และควบคุมโรค แก่ อสม. และเจ้าหน้าที่ จำนวน 107 คน เรื่องโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี | 107 | 3,040.00 | - | ||
2 2 กิจกรรม จัดรณรงค์ตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 11,200.00 | 0 | 0.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรม จัดรณรงค์ตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี | 0 | 11,200.00 | - | ||
3 3 กิจกรรม ประชุมสรุปผลการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี โดย อสม. จำนวน 101 คน ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน 6 คน รวมเป็น ๑๐7 คน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรม ประชุมสรุปผลการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี โดย อสม. จำนวน 101 คน ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน 6 คน รวมเป็น ๑๐7 คน | 0 | 0.00 | - | ||
4 4.สรุป รายงานผลโครงการ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | |
1 - 30 เม.ย. 68 | สรุป รายงานผลโครงการ | 0 | 0.00 | - | ||
หลักการและเหตุผล
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เผยสถานการณ์ของโรคตับอักเสบทั่วโลก พบว่าทั่วโลกมีผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและซีมากกว่า 350 ล้านคน ซึ่งส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 1.1 ล้านคนในแต่ละปี และคาดการณ์ว่าภายในปี พ.ศ.2583 จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคตับอักเสบสูงกว่าผู้เสียชีวิตจากเอชไอวี มาลาเรียและวัณโรครวมกัน ส่วนสถานการณ์ในประเทศไทย พบผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ประมาณ 2.2 - 3 ล้านคน โดยการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B virus : HBV) ส่งผลต่อการเจ็บป่วย เช่น มะเร็งตับ พบในเพศชาย (33.4 ต่อแสนประชากร) และพบในเพศหญิง (12.3 ต่อแสนประชากร) กลุ่มอายุที่พบสูงสุด คือกลุ่มอายุ 45 - 54 ปี รองลงมา คือ กลุ่มอายุ 55 - 64 ปี และ 35 - 44 ปี อัตราป่วย 4.26, 3.43 และ 2.55 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ พบผู้ป่วยใหม่ในทุกเดือนโดยพบสูงสุดในเดือน ตุลาคมจำนวนผู้ป่วย เท่ากับ 130 ราย และต่ำสุดในเดือน ธันวาคม และ สิงหาคม เท่ากับ 77 ราย โดยในปี พ.ศ.2550 พบผู้ป่วยใหม่สูงกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปีในทุกเดือนในบรรดาโรคร้ายที่คุกคามร่างกายเราได้
สาเหตุของโรคตับอักเสบส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส โดยเฉพาะตับอักเสบบีและซี โดยติดต่อทางเลือดและสารคัดหลั่ง จากแม่สู่ลูกและเกิดก่อนปี พ.ศ.2535 เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อโดยไม่ป้องกัน การสักเจาะหรือการฝังเข็มโดยอุปกรณ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อไม่ถูกต้อง ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี โดยให้ครบชุด 3 เข็ม ส่วนโรคตับอักเสบซีไม่มีวัคซีนป้องกัน แต่สามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยการทานยาต้านไวรัสให้ครบ 12 สัปดาห์ โรคไวรัสตับอักเสบบีและซี เป็นปัญหาคุกคามทำให้ผู้ติดเชื้อมีปัญหาตับอักเสบเรื้อรัง ตับแข็ง ตับวาย และกลายเป็นมะเร็งตับ ไวรัสตับอักเสบซี ถูกค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2532 เป็นไวรัสตับอักเสบชนิดหนึ่งที่ทำให้เกิดการอักเสบในตับ สามารถทำให้เกิดการตับอักเสบทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรังตลอดจนตับแข็งและมะเร็งตับ ความรุนแรงของไวรัสชนิดนี้คือ เป็นตับอักเสบเรื้อรังมากกว่าชนิดอื่น และยังไม่มีวัคซีนป้องกันการติดเชื้อ ทำได้ก็เพียงการให้ยาลดไวรัสและป้องกันการเกิดมะเร็งตับเท่านั้น ทั้งนี้ หากประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี ให้เข้ารับการคัดกรองและเข้าสู่ระบบริการรักษาโดยเร็ว เพื่อป้องกันการติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี ภาวะตับแข็ง และโรคมะเร็งตับ เพื่อนำไปสู่การกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซีให้หมดไปภายในปี 2573 และเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองการติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี จำนวน 1 ครั้ง
ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพูด ตำบลคลองเฉลิมได้เห็นความสำคัญของการให้ความรู้ คัดกรอง ค้นหา ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และไวรัสตับอักเสบซี ปี 2568 เพื่อหาแนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี และการส่งต่อเพื่อเข้าสู่ระบบการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องต่อไป
๑. กลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการตรวจคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบบีและซี
๒. กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองตับอักเสบบีซีและผู้ติดเชื้อตับอักเสบบีซีเข้าสู่กระบวนการตรวจรักษา
๓. ลดการเสียชีวิตเกี่ยวข้องกับโรคตับอักเสบบีและซี
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 มิ.ย. 2568 13:55 น.