โครงการอบรมป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก |
รหัสโครงการ | 68-L4119-2-6 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กลุ่มบ้านหลังเกษตร |
วันที่อนุมัติ | 29 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 14,700.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายภูวดล สุขช่วย |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.167,101.187place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความ สูญเสียชีวิต และค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศทั้งที่ทุกฝ่าย ได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนพบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี พ.ศ. 2565-2567 ตำบลธารโต พบอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ในปี 2566 37 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 752.45 ต่อประชากรแสนคน และไม่พบผู้ป่วยไข้เลือดในปี 2565 และปี 2567 การระบาดของโรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ. 2566 นั้นพบอัตราป่วยสูงเนื่องจากเป็นการระบาดที่ต่อ มีปัจจัยเอื้อที่สำคัญ สภาพอากาศ จำนวนลูกน้ำยุงลายและการเดินทางเคลื่อนย้ายของประชาชนในพื้นที่ ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์ระบาดของจังหวัดยะลา จากการวิเคราะห์ปัญหาและดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ดังนั้นกลุ่มประชาชน หมู่ที่ 7 บ้านหลังเกษตร จึงร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหาร ส่วนตำบลธารโต จัดทำโครงการอบรมป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ 7 บ้านหลังเกษตร โดยจัดให้มี กิจกรรมอบรมให้ความรู้ วิธีการป้องกัน และประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก กิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลายเพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย กำจัดยุงลายตัวเต็มวัยซึ่งเป็นพาหนะนำโรคไข้เลือดออกและเพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิดขึ้นในพื้นที่ชุมชน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
|
||
2 | เพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกง
|
||
3 | เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการทำลาย แหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลาย
|
วิธีดำเนินการ
1. ประชุมปรึกษาหารือคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
2. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ
3. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน
4. เชิญวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
5 จัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการ
- ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกน
- ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกง
- ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการกำจัดเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายน
- ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 มิ.ย. 2568 14:57 น.