โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กนักเรียน
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กนักเรียน |
รหัสโครงการ | 68-L4119-3-2 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านมายอ |
วันที่อนุมัติ | 29 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 7,620.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางรูฮานี ระเด่นกุล |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.167,101.187place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : ระบุ |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เนื่องจากเด็กวัยก่อนเรียน มีการพัฒนาและการเจริญเติบโตของสมองอย่างรวดเร็ว จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาคุณภาพการเจริญเติบโตของร่างกาย จากการได้รับสารอาหารต่างๆ อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ถูกต้องตามสุขลักษณะในปริมาณที่เหมาะสมกับวัย จากการสำรวจเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ผ่านๆ ผลการตรวจแบบบันทึกภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กนักเรียน การแปรผลของเด็กนักเรียน ปีงบประมาณ 2565 มีเด็กนักเรียนจำนวน 22 คน มีภาวะโภชนาการน้ำหนัก น้อยกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างน้อย มากกว่าเกณฑ์ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 31.82 ปีงบประมาณ 2566 มีเด็กนักเรียนจำนวน 31 คน มีภาวะโภชนาการน้ำหนัก น้อยกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างน้อย มากกว่าเกณฑ์ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 25.81 และปีปัจจุบัน ปีงบประมาณ 2567 มีเด็กนักเรียนจำนวน 26 คน มีภาวะโภชนาการน้ำหนัก น้อยกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างน้อย จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 19.23 การขาดสารอาหารในระยะนี้จะมีผลต่อการพัฒนาการทางสมอง และร่างกายมากที่สุด เพราะจะทำให้เด็กมีพัฒนาการที่ล่าช้า การเรียนรู้ที่ลดลง และเกิดโรคต่างๆตามมา เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่สมบูรณ์ เจริญเติบโตตามวัย มีสุขภาพพลานามัยที่ดี จากการสำรวจ พบว่า ผู้ปกครองเด็กวัยนี้ ยังขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก การเลือกซื้ออาหาร และการจัดการกับอาหารที่ปลอดสารพิษ สอดแทรกไปกับความรู้ต่างๆ จึงจำเป็นต้องให้การเรียนรู้กับผู้ปกครองเด็กและผู้ปกครองชุมชนใกล้เคียงให้ได้รู้ถึงปัญหา และแนวทางแก้ไขภาวะทางโภชนาการ และสามารถนำความรู้กลับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง ได้มีความรู้ความ เข้าใจ ในเรื่องโภชนาการ สำหรับเด็กอย่างถูกต้อง
|
||
2 | เพื่อลดโอกาสเสี่ยงในเรื่องการขาดสารอาหารในเด็ก
|
||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครอง สามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาใช้ในชีวิตประจำวันกับเด็กได้
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง ได้มีความรู้ความ เข้าใจ ในเรื่องโภชนาการ สำหรับเด็กอย่างถูกต้อง |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อลดโอกาสเสี่ยงในเรื่องการขาดสารอาหารในเด็ก |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้ผู้ปกครอง สามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาใช้ในชีวิตประจำวันกับเด็กได้ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
วิธีดำเนินการ
1. เก็บรวบรวมแบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก
2. จัดทำโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุน
3. ประสานผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ปกครองในกลุ่มเป้าหมาย
4. มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในการจัดกิจกรรม
5. ประสานงานเชิญวิทยากร มาให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการของเด็ก
6. ดำเนินจัดกิจกรรมโครงการ
- จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กนักเรียนและผู้ปกครองเด็กในพื้นที่ใกล้เคียง
- บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารโภชนาการสำหรับเด็ก
- ให้ความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการการเจริญเติบโตตามวัยและการให้ภูมิคุ้มกันโรคในเด็กก่อนวัยเรียน
- ติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและแปรผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิง
7. สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคที่พบ
- ผู้ปกครองเด็กนักเรียนและผู้ปกครองเด็กพื้นที่ใกล้เคียง มีความรู้ในเรื่องโภชนาการ 2. เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น ปราศจากโรคขาดสารอาหาร 3. ผู้ปกครองเด็กนักเรียนและผู้ปกครองเด็กพื้นที่ใกล้เคียง นำความรู้ที่ได้จากการจัดกิจกรรมไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 มิ.ย. 2568 16:07 น.