กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรักษ์เข่าด้วยสมุนไพรไทย ประจำปี 2568 ”




หัวหน้าโครงการ
นางมาสีเตาะ นิมาปู




ชื่อโครงการ โครงการรักษ์เข่าด้วยสมุนไพรไทย ประจำปี 2568

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3011-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรักษ์เข่าด้วยสมุนไพรไทย ประจำปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรักษ์เข่าด้วยสมุนไพรไทย ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรักษ์เข่าด้วยสมุนไพรไทย ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3011-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเข่าเสื่อม (Osteoarthritis) เป็นภาวะที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อนในข้อต่อเข่า ส่งผลให้เกิดอาการปวด ข้อฝืด และการเคลื่อนไหวที่จำกัด ซึ่งมักพบในผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีภาวะน้ำหนักเกินโรคนี้ไม่เพียงแต่ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกไม่สะดวกในการเคลื่อนไหว แต่ยังส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในชีวิตประจำวัน
จากการสำรวจของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะลุโบะพบว่าตั้งแต่ปี 2565-2567 โรคกล้ามเนื้อ และกระดูกเป็นปัญหาที่พบมาก 1 ใน 5 สาเหตุของการป่วย ปัจจุบันอยู่ที่อันดับ 3 ซึ่งโรคเข่าเสื่อมจัดอยู่ในกลุ่มโรคกล้ามเนื้อและกระดูก โดยมักจะพบในผู้ป่วยวัยกลางคนและวัยสูงวัย (ที่มา : รายงาน 504 วันที่ 1 ต.ค. 2565 - ธ.ค.2567) ด้วยเหตุนี้จึงสะท้อนให้เห็นว่าโรคเกี่ยวกับเข่าและกล้ามเนื้อกระดูก เป็นปัญหาของคนในพื้นที่ การรักษาโรคเข่าเสื่อมส่วนใหญ่จะใช้วิธีการทางการแพทย์ เช่น การใช้ยา, การทำกายภาพบำบัด หรือในกรณีที่รุนแรงอาจจำเป็นต้องผ่าตัด อย่างไรก็ตามปัจจุบันมีการนำการรักษาแบบแพทย์แผนไทยมาประยุกต์ใช้เพื่อเสริมการรักษา ซึ่งใช้วิธีธรรมชาติและสมุนไพรในการบรรเทาอาการ การพอกเข่าและการใช้แผ่นแปะสมุนไพรไทยเป็นหนึ่งในวิธีการรักษาที่ได้รับความนิยม เนื่องจากสมุนไพรไทยหลายชนิด มีคุณสมบัติช่วยลดการอักเสบ บรรเทาอาการปวด และกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด สมุนไพรในการพอกเข่า เช่น ขมิ้นชัน ขิง ไพล และผักเสี้ยนผี จะช่วยลดอาการบวมและคลายกล้ามเนื้อที่ตึงเครียด ขณะเดียวกันการใช้แผ่นแปะสมุนไพรที่มีสรรพคุณช่วยบำรุงข้อต่อและลดการอักเสบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นวิธีการรักษา ที่ปลอดภัยและสามารถใช้ควบคู่กับการรักษาอื่นๆ ได้ ช่วยให้ผู้ป่วยมีความสบายตัวมากขึ้นและสามารถฟื้นฟูข้อต่อได้อย่างเป็นธรรมชาติ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะลุโบะ จึงได้ทำโครงการรักษ์เข่าด้วยสมุนไพรไทยซึ่งมี การนำสมุนไพรไทยที่สามารถหาได้ง่ายในชุมชนมาใช้ในการรักษาอาการปวดเข่า เพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการใช้สมุนไพรไทยเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการดูแลสุขภาพของตนเอง อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และลดการพึ่งพาการใช้ยาแผนปัจจุบัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจใน โรคข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย
  2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมยาพอกเข่าและแผ่นแปะเข่า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประเมินความรู้และประชาสัมพันธ์
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  3. กิจกรรมการทำยาพอกเข่า
  4. กิจกรรมการทำแผ่นแปะเข่า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
    1. ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมยาพอกเข่าและแผ่นแปะเข่า

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจใน โรคข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม ด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย
0.00 80.00

 

2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมยาพอกเข่าและแผ่นแปะเข่า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนได้รับความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมยาพอกเข่าและแผ่นแปะ
0.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจใน    โรคข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย (2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมยาพอกเข่าและแผ่นแปะเข่า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประเมินความรู้และประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมการทำยาพอกเข่า (4) กิจกรรมการทำแผ่นแปะเข่า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรักษ์เข่าด้วยสมุนไพรไทย ประจำปี 2568 จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3011-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมาสีเตาะ นิมาปู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด