โครงการส่งเสริมป้องกันและบริการทันตสุขภาพในเด็กตาดีกา รพ.สต.ลุโบะยิไร ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมป้องกันและบริการทันตสุขภาพในเด็กตาดีกา รพ.สต.ลุโบะยิไร ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3006-01-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี |
วันที่อนุมัติ | 27 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 12 กรกฎาคม 2568 - 28 ธันวาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ธันวาคม 2569 |
งบประมาณ | 30,900.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวนิฟารีดา สะลายา |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอิสมาอีลล์ เหตุ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.666,101.417place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 692 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในเด็กนักเรียน โรคฟันผุในเด็กสามารถ พบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สาเหตุหลักที่ ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาด ช่องปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุอย่างรุนแรง ทำให้ เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการ การเจริญเติบโตของเด็กได้
การเกิดฟันผุ นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสีย ต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่ จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้ อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็น ปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการแสดงออก
การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพ ช่องปาก การให้สุขศึกษา บริการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกวิธี การบำบัดรักษา และการติดตาม ประเมินผลต่อไป ทางฝ่ายทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมตำบลลุโบะยิไรร่วมกับกองทุนหลักประกัน สุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะยิไร ได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพและตระหนักถึง ความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กนักเรียนขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กนักเรียน ข้อที่ 2 เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุในเด็กนักเรียน ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และชุมชนในการป้องกันโรคฟันผุ ตัวชี้วัดความสำเร็จ
เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี โรงเรียนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน |
70.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 | ต.ค. 68 | พ.ย. 68 | ธ.ค. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันต กรรมครบวงจรและการติดตาม ประเมินผลต่อไป ทางฝ่ายทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมตำบลลุโบะยิไรร่วมกับกองทุนหลักประกัน สุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะยิไร(12 ก.ค. 2568-28 ธ.ค. 2568) | 30,900.00 | ||||||
รวม | 30,900.00 |
1 การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันต กรรมครบวงจรและการติดตาม ประเมินผลต่อไป ทางฝ่ายทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมตำบลลุโบะยิไรร่วมกับกองทุนหลักประกัน สุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะยิไร | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 692 | 30,900.00 | 0 | 0.00 | 30,900.00 | |
12 ก.ค. 68 - 28 ธ.ค. 68 | การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันต กรรมครบวงจรและการติดตาม ประเมินผลต่อไป ทางฝ่ายทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมตำบลลุโบะยิไรร่วมกับกองทุนหลักประกัน สุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะยิไร | 692 | 30,900.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 692 | 30,900.00 | 0 | 0.00 | 30,900.00 |
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
โรงเรียนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็กนักเรียน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 มิ.ย. 2568 14:36 น.