กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่อง โรค การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน จนสามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้
ตัวชี้วัด : . ร้อยละ 80 ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่อง โรค การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน จนสามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้

 

 

 

2 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์มาตรฐาน และสามารถดูแลตนเองในการชะลอภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้
ตัวชี้วัด : 1. อัตราผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ ๔๐ และ ร้อยละ ๗๐ ตามลำดับ 2. ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปีตามมาตรฐาน ร้อยละ ๙๐ 3. ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงที่มีผลตรวจผิดปกติ ได้รับการรักษาและส่งต่อตามมาตรฐาน ร้อยละ 90 4. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงกลุ่ม Uncontrol ได้รับการติดตามต่อเนื่องร้อยละ90 5. ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต (GFR