โครงการหญิงวัยเจริญพันธ์ุ สานสัมพันธุ์ ดูแลสุขภาพ ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการหญิงวัยเจริญพันธ์ุ สานสัมพันธุ์ ดูแลสุขภาพ ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 13-L8283-02-68 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อสม. เทศบาลตำบลหนองจิก |
วันที่อนุมัติ | 5 มิถุนายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 5 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 25,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวอาสน๊ะ ดอเลาะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายมะรอกี เวาะเลง |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.83992,101.17608place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติบโต แข็งแกร่ง ยั่งยืนในทุกด้าน ประการสำคัญมุ่งเน้นพัฒนาคนเป็นหลัก เพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต โดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดมาแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสมเพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต แต่ปัจจุบัน ข้อมูลอนามัยแม่และเด็กในเขตเทศบาลตำบลหนองจิก ยังมีปัญหาหลายอย่างที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงมีครรภ์ สามี ญาติ ในขณะตั้งครรภ์การฝากครรภ์ไม่ครบ ๔ ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐาน หญิงมีครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า๑๒ สัปดาห์ และ แม่ตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า ๒๐ ปี ปัญหาเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญ ที่มีผลต่อสุขภาพทั้งทางกายและจิตใจของมารดาที่ตั้งครรภ์ ส่งผลให้มารดาที่ตั้งครรภ์เจ็บป่วยและคลอดก่อนกำหนด ทารกที่คลอดมีสุขภาพไม่แข็งแรงและมีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม เป็นต้น จากการวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของ ตำบลห้วยกระทิง ปี ๒๕๕๙พบว่า ปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม เป็นปัญหาอันดับ ๑ ซึ่งมีสาเหตุมาจาก การคลอดก่อนกำหนดการมีภาวะทุพโภชนาการของมารดาและมารดาอายุน้อยกว่า ๒๐ ปี ปัญหามารดาอายุต่ำกว่า ๒๐ ปีคลอดบุตรเป็นปัญหาอันดับ ๒ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการแต่งงานตั้งแต่อายุยังน้อยและไม่ได้คุมกำเนิดและปัญหาการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า๑๒ สัปดาห์ และการฝากครรภ์ไม่ครบ ๔ ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐาน เป็นปัญหาอันดับ ๓ ซึ่งมีสาเหตุจากการขาดความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์และการย้ายถิ่น จากสภาพปัญหาการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ดังกล่าว ทางชมรม อสม. เทศบาลตำบลหนองจิก จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาจากเทศบาลตำบลหนองจิก โรงพยาบาลหนองจิก และองค์กรในชุมชนทุกภาคส่วน ร่วมกันจัดทำแผนพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก เพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการในเขตเทศบาลตำบลหนองจิกขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแก่ หญิงวัยเจริญพันธ์ , หญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอด ตลอดจนสามีและญาติ ร้อยละ ๙๐ ของหญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอด ตลอดจนสามีและญาติ มีความรู้ความเข้าในการดูแลสุขภาพ |
50.00 | 65.00 |
2 | เพื่อส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด ร้อยละ ๑๐๐ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดมาแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม |
65.00 | 80.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 25,000.00 | 0 | 0.00 | 25,000.00 | |
9 มิ.ย. 68 | ประชุมคณะทำงาน | 0 | 0.00 | - | - | ||
10 - 13 มิ.ย. 68 | ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายทราบเรื่องการจัดโครงการ | 0 | 0.00 | - | - | ||
23 ก.ค. 68 | อบรมให้ความรู้กลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์ ในเขตพื้นที่ | 0 | 21,000.00 | - | - | ||
24 ก.ค. 68 | ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงหลังคลอด | 0 | 4,000.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 25,000.00 | 0 | 0.00 | 25,000.00 |
1.หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอด ตลอดจนสามีและญาติ มีความรู้ ความเข้าใจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพมากขึ้น 2.หญิงหลังคลอดมีน้ำนมเพียงพอสำหรับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพของทารกอย่างมาก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ก.ค. 2568 10:33 น.