กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการค่ายเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด ”
ตำบลบ่อน้ำร้อน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายเอนก ปรีชา




ชื่อโครงการ โครงการค่ายเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลบ่อน้ำร้อน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1467-01-07 เลขที่ข้อตกลง 7/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อน้ำร้อน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อน้ำร้อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อน้ำร้อน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1467-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 180,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อน้ำร้อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการศึกษาสถานการณ์ด้านการแพร่ระบาดของยาเสพติดระดับโลกในปัจจุบัน พบว่า ประชากรที่มีอายุระหว่าง 15-35 ปี มีแนวโน้มการใช้ยาเสพติดเพิ่มขึ้น (United Nations Office on Drugs and Crime) สำหรับประเทศไทย พบว่าจำนวนเด็กและเยาวชนที่ถูกดำเนินคดียาเสพติดให้โทษ โดยสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนทั่วประเทศ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่วนใหญ่ ร้อยละ 85 เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 15-19 ปีและ 20-24 ปี ประเภทของยาเสพติดที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย คือ ยาบ้า  ยาไอซ์ กัญชา กระท่อม เฮโรอีนและสารอื่น ๆ และจากการประเมินสหปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดด้านการใช้ยาเสพติดของเด็กและเยาวชนไทย มีสาเหตุมาจาก 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ รายได้ครอบครัวต่ำ ภาระเกินวัย แรงขับ/การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย มีทัศนคติต่อยาเสพติดในทางบวก การควบคุมตนเองต่ำ จิตใจไม่มั่นคง ยึดถือ ตนเองเป็นศูนย์กลาง อยากรู้อยากลองและติดการเที่ยวแตร่ 2) ปัจจัยด้านครอบครัว ได้แก่ ครอบครัวบกพร่อง การเลี้ยงดูไม่เหมาะสมและถูกปล่อยปะละเลย 3) ปัจจัยด้าน สภาพแวดล้อมและสังคม ได้แก่ การคบหาสมาคมกลุ่มเพื่อนที่มีพฤติกรรมการกระทำความผิด พื้นที่พักอาศัย/แหล่งชุมชนที่มีอัตรากระทำผิดสูง มีแหล่งมั่วสุมและพื้นที่เสี่ยงต่อปัญหายาเสพติดและการไม่ได้รับโอกาสหรือถูกปฏิเสธจากสังคม การใช้สารเสพติดในกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ส่งผลกระทบต่อตนเอง ทั้งด้านร่างกาย จิตใจและ อารมณ์ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อครอบครัว และสังคมโดยรอบ รวมถึงเศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศ ประชาชนเดือดร้อนเพราะเหตุอาชญากรรม ประเทศชาติต้องสูญเสียกำลังของชาติอย่างน่าเสียดาย โดยเฉพาะ ผู้ติดสารเสพติดเป็นเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ในการนี้ งานสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อน้ำร้อน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ จึงได้จัดทำโครงการค่ายเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติดขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ทักษะชีวิตและเกิดการตระหนักถึงโทษของยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ได้รับรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนให้ใช้ยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
    2. เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ได้รับรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด
    3. เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนให้ใช้ยาเสพติด
    4. เกิดกระบวนการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
    ตัวชี้วัด : ร้อยละความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดไม่ต่ำกว่าระดับมาก (3.51-4.50)

     

    2 ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ได้รับรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : ร้อยละความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษและพิษภัยของยาเสพติด ไม่ต่ำกว่าระดับมาก (3.51-4.50)

     

    3 ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนให้ใช้ยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา เข้าใจและสามารถใช้ทักษะ การปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนให้ใช้ยาเสพติด

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ได้รับรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนให้ใช้ยาเสพติด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการค่ายเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 68-L1467-01-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเอนก ปรีชา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด