โครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี
หัวหน้าโครงการ
นางตีฆายะห์ ลีมิง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ
ตุลาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี จังหวัด สมุทรปราการ
รหัสโครงการ L2542-2568-03-23 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 ตุลาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี จังหวัดสมุทรปราการ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี รหัสโครงการ L2542-2568-03-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 กรกฎาคม 2568 - 31 ตุลาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ เพราะร่างกายเรานำสารอาหารจากอาหารไปใช้ประโยชน์ทำให้ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุขและส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆโดยเฉพาะในเด็กในช่วงอายุ ๒- ๕ ปี เป็นวัยที่มีความสำคัญที่สุดวัยหนึ่งของชีวิต เพราะเป็นวัยที่ต้องได้รับการพัฒนาครบในทุกๆด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ไปพร้อมๆกัน ในการรับประทานอาหารในแต่ละมื้อของเด็กจึงมีความสำคัญในการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนต่างๆของร่างกาย ป้องกันโรคดำรงไว้ซึ่งสุขภาพที่ดี เพื่อให้มีสภาวะร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์แข็งแรง โภชนาการอาหารจึงมีความสำคัญโดยตรงต่อสุขภาพเด็กที่มีการส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆซึ่งปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการชาดธารติเหล็ก โดยมีสาเหตุที่สำคัญจากการไม่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน ทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควร ดังนั้นเพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย ด้วยการส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของเด็กและผู้ดูแลเด็ก เพื่อเตรียมความพร้อมพัฒนาเด็กให้มีภาวะโภชนาการที่ดี สูงดีสมส่วนและมีทักษะที่จำเป็น อีกทั้งยังแก้ไขปัญหาแนวโน้มการตรวจพบเด็กที่มีภาวะโภชนาการไม่เหมาะสมให้น้อยลง จากการสำรวจภาวะโภชนาการของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี ปี ๒๕๖๘ พบว่า ในเด็กจำนวนที่สำรวจ 35คนพบภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 15 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการค่อนข้างผอม และผอม
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบีตระหนักถึงความสำคัญที่จะดูแลสุขภาพแก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก ได้รับความรู้ที่ถูกต้องเหมาะสม และตระหนักในความสำคัญการดูแลเลี้ยงดูเด็กรวมทั้งมีทักษะในการเรียนรู้และพัฒนาเลือกสรรอาหารตามความเหมาะสมของเด็กแต่ละคน เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม และสามารถดูแลเด็กที่อยู่ในช่วงปฐมวัยได้อย่างเหมาะสมอีกทั้งลดโอกาสการคัดกรองพบภาวะทุพโภชนาการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมวัย และมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม
- ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กปฐมวัย มีน้ำหนัก ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย
- ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการครบถ้วนทุกด้านอย่างเหมาะสม ตามวัย
- ข้อที่ 4 เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์และมีคุณค่าทางหลักโภชนาการอย่างครบถ้วน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม “เช้าอิ่ม สุขภาพดี วิถีหนูน้อย”
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมวัย และมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการประเมินพัฒนาการรายบุคคลอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และมีการบันทึกผลไว้อย่างเป็นระบบ
70.00
80.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กปฐมวัย มีน้ำหนัก ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย
ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยทุกคนในศูนย์ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปีการศึกษา
2. เด็กที่ได้รับอาหารเช้า มีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์ปกติ (น้ำหนักและส่วนสูงสมวัย)
70.00
80.00
3
ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการครบถ้วนทุกด้านอย่างเหมาะสม ตามวัย
ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีพัฒนาการตามเกณฑ์มาตรฐานครบทั้ง 4 ด้าน
70.00
80.00
4
ข้อที่ 4 เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์และมีคุณค่าทางหลักโภชนาการอย่างครบถ้วน
ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับประทานอาหารเช้าทุกวันก่อนเข้าร่วมกิจกรรมในศูนย์
2. อาหารเช้าที่จัดให้เด็กในศูนย์ มีคุณค่าทางโภชนาการครบ 5 หมู่ ตลอดโครงการ
3. เมนูอาหารเช้าที่จัดในศูนย์ฯ มีคุณค่าทางโภชนาการครบ 5 หมู่ ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย
70.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
15
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมวัย และมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กปฐมวัย มีน้ำหนัก ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการครบถ้วนทุกด้านอย่างเหมาะสม ตามวัย (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์และมีคุณค่าทางหลักโภชนาการอย่างครบถ้วน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม “เช้าอิ่ม สุขภาพดี วิถีหนูน้อย”
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี จังหวัด สมุทรปราการ
รหัสโครงการ L2542-2568-03-23
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางตีฆายะห์ ลีมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี
หัวหน้าโครงการ
นางตีฆายะห์ ลีมิง
ตุลาคม 2568
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี จังหวัด สมุทรปราการ
รหัสโครงการ L2542-2568-03-23 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 ตุลาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี จังหวัดสมุทรปราการ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี รหัสโครงการ L2542-2568-03-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 กรกฎาคม 2568 - 31 ตุลาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ เพราะร่างกายเรานำสารอาหารจากอาหารไปใช้ประโยชน์ทำให้ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุขและส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆโดยเฉพาะในเด็กในช่วงอายุ ๒- ๕ ปี เป็นวัยที่มีความสำคัญที่สุดวัยหนึ่งของชีวิต เพราะเป็นวัยที่ต้องได้รับการพัฒนาครบในทุกๆด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ไปพร้อมๆกัน ในการรับประทานอาหารในแต่ละมื้อของเด็กจึงมีความสำคัญในการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนต่างๆของร่างกาย ป้องกันโรคดำรงไว้ซึ่งสุขภาพที่ดี เพื่อให้มีสภาวะร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์แข็งแรง โภชนาการอาหารจึงมีความสำคัญโดยตรงต่อสุขภาพเด็กที่มีการส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆซึ่งปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการชาดธารติเหล็ก โดยมีสาเหตุที่สำคัญจากการไม่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน ทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควร ดังนั้นเพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย ด้วยการส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของเด็กและผู้ดูแลเด็ก เพื่อเตรียมความพร้อมพัฒนาเด็กให้มีภาวะโภชนาการที่ดี สูงดีสมส่วนและมีทักษะที่จำเป็น อีกทั้งยังแก้ไขปัญหาแนวโน้มการตรวจพบเด็กที่มีภาวะโภชนาการไม่เหมาะสมให้น้อยลง จากการสำรวจภาวะโภชนาการของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี ปี ๒๕๖๘ พบว่า ในเด็กจำนวนที่สำรวจ 35คนพบภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 15 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการค่อนข้างผอม และผอม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบีตระหนักถึงความสำคัญที่จะดูแลสุขภาพแก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก ได้รับความรู้ที่ถูกต้องเหมาะสม และตระหนักในความสำคัญการดูแลเลี้ยงดูเด็กรวมทั้งมีทักษะในการเรียนรู้และพัฒนาเลือกสรรอาหารตามความเหมาะสมของเด็กแต่ละคน เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม และสามารถดูแลเด็กที่อยู่ในช่วงปฐมวัยได้อย่างเหมาะสมอีกทั้งลดโอกาสการคัดกรองพบภาวะทุพโภชนาการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมวัย และมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม
- ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กปฐมวัย มีน้ำหนัก ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย
- ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการครบถ้วนทุกด้านอย่างเหมาะสม ตามวัย
- ข้อที่ 4 เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์และมีคุณค่าทางหลักโภชนาการอย่างครบถ้วน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม “เช้าอิ่ม สุขภาพดี วิถีหนูน้อย”
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 15 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมวัย และมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการประเมินพัฒนาการรายบุคคลอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และมีการบันทึกผลไว้อย่างเป็นระบบ |
70.00 | 80.00 |
|
|
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กปฐมวัย มีน้ำหนัก ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยทุกคนในศูนย์ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปีการศึกษา 2. เด็กที่ได้รับอาหารเช้า มีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์ปกติ (น้ำหนักและส่วนสูงสมวัย) |
70.00 | 80.00 |
|
|
3 | ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการครบถ้วนทุกด้านอย่างเหมาะสม ตามวัย ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีพัฒนาการตามเกณฑ์มาตรฐานครบทั้ง 4 ด้าน |
70.00 | 80.00 |
|
|
4 | ข้อที่ 4 เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์และมีคุณค่าทางหลักโภชนาการอย่างครบถ้วน ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับประทานอาหารเช้าทุกวันก่อนเข้าร่วมกิจกรรมในศูนย์ 2. อาหารเช้าที่จัดให้เด็กในศูนย์ มีคุณค่าทางโภชนาการครบ 5 หมู่ ตลอดโครงการ 3. เมนูอาหารเช้าที่จัดในศูนย์ฯ มีคุณค่าทางโภชนาการครบ 5 หมู่ ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย |
70.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 15 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 15 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมวัย และมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กปฐมวัย มีน้ำหนัก ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการครบถ้วนทุกด้านอย่างเหมาะสม ตามวัย (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์และมีคุณค่าทางหลักโภชนาการอย่างครบถ้วน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม “เช้าอิ่ม สุขภาพดี วิถีหนูน้อย”
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลูบี จังหวัด สมุทรปราการ
รหัสโครงการ L2542-2568-03-23
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางตีฆายะห์ ลีมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......