โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นางอโนชา เลาหวิริยานนท์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 36
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เจริญและทันสมัยขึ้น แต่ภาวะทางเศรษฐกิจที่ตกต่ำ ทำให้ผู้หญิงในยุคปัจจุบัน มีบทบาทในการทำงานนอกบ้านมากขึ้น ควบคู่ไปกับการดูแลครอบครัว ทำให้ขาดการดูแลเอาใจใส่ตนเอง และการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ดังนั้น หญิงตั้งครรภ์ควรรู้จักวิธีการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้องเหมาะสมตลอดจนการคลอดที่มีคุณภาพ มารดาและทารกคลอดปลอดภัย มารดาและทารกได้รับการดูแลครอบคลุมทั้งร่างกายจิตใจสังคมและจิตวิญญาณ ซึ่งผลจากการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิดในปีที่ผ่านมาพบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงจากโรคที่สามารถป้องกันได้หากได้รับคำแนะนำในเรื่องการปฏิบัติตนระหว่างตั้งครรภ์การได้รับความรู้เรื่องโภชนาการที่เหมาะสมสามารถส่งเสริมพัฒนาการของทารกในครรภ์และยังสามารถลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของแม่ตลอดจนความฉลาดทางสติปัญญา ( IQ ) ของเด็กปฐมวัยซึ่งปัจจัยที่พบเกิดจากปัญหาสุขภาพของแม่มีภาวะทุพโภชนาการ ขาดไอโอดีนภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์หรือปัจจัยอื่นๆ
การแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็กต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของชุมชนผู้นำศาสนาผู้นำชุมชนตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแกนนำสตรีกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และสามีผดุงครรภ์โบราณอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้ปฏิบัติงานในระดับศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลชุมชนตระหนักและเห็นความสำคัญร่วมกันว่าปัญหาการดูแลหญิงตั้งครรภ์ต้องได้รับการแก้ไข จากสภาพปัญหางานอนามัยแม่และเด็กของตำบลสะเตงนอก ปี2567 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ร้อยละ75ผลงาน 81.12 ฝากครรภ์ครบ5ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ75ผลงาน76.96 ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์อายุครรภ์32-34 สัปดาห์≤ร้อยละ12 ผลงาน19.15 โดยเฉพาะปัญหาภาวะซีดที่เป็นภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโดยประเมินจากการเจาะเลือดวัดระดับค่าฮีมาโตคริตต้องมากว่า 33 %และค่าระดับฮีโมโกลบิลในเลือดต้องมากกว่า12.3g/dlการที่หญิงตั้งครรภ์ทุกคนได้รับสารอาหารที่มีธาตุ เหล็กวิตามินบี 12 บี6อีซีทองแดงและ โฟเลทที่เพียงพอและเหมาะสมจะช่วยลดความเสี่ยงในการแท้ง การคลอดก่อนกำหนด ลูกในครรภ์น้ำหนักน้อย ลูกในครรภ์มีโลหิตจาง หากโลหิตจางมาก อาจทำให้เกิดน้ำคร่ำน้อย ซึ่งทำให้เด็กเสียชีวิตในครรภ์ได้ นอกจากนั้นยังอาจเกิดอันตรายกับมารดาในช่วงคลอด เพราะอาจตกเลือดจนเสียชีวิตได้
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอกได้เห็นถึงความสำคัญของการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบ เพื่อลูกรักสุขภาพดี เพื่อมุ่งส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ทุกช่วงวัยจึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี2568
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อค้นและติดตามหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์
- 2. เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดในขณะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด
- 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน
- 4.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจางและ ที่มี ภาวะเสี่ยง5 โรค
- 5.เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพชมรมแม่อาสาและอาสาสมัครสาธารณสุข
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่1 จัดอบรมให้ความรู้การดูแลตนเองหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจางและที่มีภาวะเสี่ยง 5 โรค จำนวน 50 คน
- กิจกรรมที่ 2 ติดตามภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงโลหิตจางและมีภาวะเสี่ยง5 โรค
- กิจกรรมที่3 จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มชมรมแม่อาสาและอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 30 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- คาดว่าหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอกทุกคน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
- คาดว่าหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีภาวะสุขภาพที่ดีจนถึงคลอด
- แกนนำชมรมแม่อาสาและอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจการดูแลหญิงตั้งครรภ์และติดตามหญิงหลังคลอดที่มีภาวะปกติ ได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อค้นและติดตามหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2. เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดในขณะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด :
0.00
4
4.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจางและ ที่มี ภาวะเสี่ยง5 โรค
ตัวชี้วัด :
0.00
5
5.เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพชมรมแม่อาสาและอาสาสมัครสาธารณสุข
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อค้นและติดตามหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์ (2) 2. เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดในขณะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด (3) 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน (4) 4.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจางและ ที่มี ภาวะเสี่ยง5 โรค (5) 5.เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพชมรมแม่อาสาและอาสาสมัครสาธารณสุข
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 จัดอบรมให้ความรู้การดูแลตนเองหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจางและที่มีภาวะเสี่ยง 5 โรค จำนวน 50 คน (2) กิจกรรมที่ 2 ติดตามภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงโลหิตจางและมีภาวะเสี่ยง5 โรค (3) กิจกรรมที่3 จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มชมรมแม่อาสาและอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 30 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอโนชา เลาหวิริยานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นางอโนชา เลาหวิริยานนท์
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 36
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เจริญและทันสมัยขึ้น แต่ภาวะทางเศรษฐกิจที่ตกต่ำ ทำให้ผู้หญิงในยุคปัจจุบัน มีบทบาทในการทำงานนอกบ้านมากขึ้น ควบคู่ไปกับการดูแลครอบครัว ทำให้ขาดการดูแลเอาใจใส่ตนเอง และการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ดังนั้น หญิงตั้งครรภ์ควรรู้จักวิธีการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้องเหมาะสมตลอดจนการคลอดที่มีคุณภาพ มารดาและทารกคลอดปลอดภัย มารดาและทารกได้รับการดูแลครอบคลุมทั้งร่างกายจิตใจสังคมและจิตวิญญาณ ซึ่งผลจากการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิดในปีที่ผ่านมาพบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงจากโรคที่สามารถป้องกันได้หากได้รับคำแนะนำในเรื่องการปฏิบัติตนระหว่างตั้งครรภ์การได้รับความรู้เรื่องโภชนาการที่เหมาะสมสามารถส่งเสริมพัฒนาการของทารกในครรภ์และยังสามารถลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของแม่ตลอดจนความฉลาดทางสติปัญญา ( IQ ) ของเด็กปฐมวัยซึ่งปัจจัยที่พบเกิดจากปัญหาสุขภาพของแม่มีภาวะทุพโภชนาการ ขาดไอโอดีนภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์หรือปัจจัยอื่นๆ
การแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็กต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของชุมชนผู้นำศาสนาผู้นำชุมชนตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแกนนำสตรีกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และสามีผดุงครรภ์โบราณอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้ปฏิบัติงานในระดับศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลชุมชนตระหนักและเห็นความสำคัญร่วมกันว่าปัญหาการดูแลหญิงตั้งครรภ์ต้องได้รับการแก้ไข จากสภาพปัญหางานอนามัยแม่และเด็กของตำบลสะเตงนอก ปี2567 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ร้อยละ75ผลงาน 81.12 ฝากครรภ์ครบ5ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ75ผลงาน76.96 ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์อายุครรภ์32-34 สัปดาห์≤ร้อยละ12 ผลงาน19.15 โดยเฉพาะปัญหาภาวะซีดที่เป็นภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโดยประเมินจากการเจาะเลือดวัดระดับค่าฮีมาโตคริตต้องมากว่า 33 %และค่าระดับฮีโมโกลบิลในเลือดต้องมากกว่า12.3g/dlการที่หญิงตั้งครรภ์ทุกคนได้รับสารอาหารที่มีธาตุ เหล็กวิตามินบี 12 บี6อีซีทองแดงและ โฟเลทที่เพียงพอและเหมาะสมจะช่วยลดความเสี่ยงในการแท้ง การคลอดก่อนกำหนด ลูกในครรภ์น้ำหนักน้อย ลูกในครรภ์มีโลหิตจาง หากโลหิตจางมาก อาจทำให้เกิดน้ำคร่ำน้อย ซึ่งทำให้เด็กเสียชีวิตในครรภ์ได้ นอกจากนั้นยังอาจเกิดอันตรายกับมารดาในช่วงคลอด เพราะอาจตกเลือดจนเสียชีวิตได้
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอกได้เห็นถึงความสำคัญของการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบ เพื่อลูกรักสุขภาพดี เพื่อมุ่งส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ทุกช่วงวัยจึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี2568
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อค้นและติดตามหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์
- 2. เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดในขณะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด
- 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน
- 4.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจางและ ที่มี ภาวะเสี่ยง5 โรค
- 5.เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพชมรมแม่อาสาและอาสาสมัครสาธารณสุข
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่1 จัดอบรมให้ความรู้การดูแลตนเองหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจางและที่มีภาวะเสี่ยง 5 โรค จำนวน 50 คน
- กิจกรรมที่ 2 ติดตามภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงโลหิตจางและมีภาวะเสี่ยง5 โรค
- กิจกรรมที่3 จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มชมรมแม่อาสาและอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 30 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- คาดว่าหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอกทุกคน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
- คาดว่าหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีภาวะสุขภาพที่ดีจนถึงคลอด
- แกนนำชมรมแม่อาสาและอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจการดูแลหญิงตั้งครรภ์และติดตามหญิงหลังคลอดที่มีภาวะปกติ ได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อค้นและติดตามหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดในขณะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | 4.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจางและ ที่มี ภาวะเสี่ยง5 โรค ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
5 | 5.เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพชมรมแม่อาสาและอาสาสมัครสาธารณสุข ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อค้นและติดตามหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์ (2) 2. เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดในขณะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด (3) 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน (4) 4.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจางและ ที่มี ภาวะเสี่ยง5 โรค (5) 5.เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพชมรมแม่อาสาและอาสาสมัครสาธารณสุข
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 จัดอบรมให้ความรู้การดูแลตนเองหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจางและที่มีภาวะเสี่ยง 5 โรค จำนวน 50 คน (2) กิจกรรมที่ 2 ติดตามภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงโลหิตจางและมีภาวะเสี่ยง5 โรค (3) กิจกรรมที่3 จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มชมรมแม่อาสาและอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 30 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงโลหิตจาง ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอโนชา เลาหวิริยานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......