กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ องค์การบริหารส่วนตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3029-2-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลประจัน
วันที่อนุมัติ 9 มิถุนายน 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2568 -
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางแวนูรีตา บูงอ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ องค์การบริหารส่วน ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

พืชผักเป็นอาหารที่คนไทยนิยมนำมาใช้รับประทานกันมากเนื่องจากมีคุณค่าทางอาหารทั้งวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมในการบริโภคพืชผักนั้น มักจะเลือกบริโภคผักที่สวยงามไม่มีร่องรอยการทำลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช จึงทำให้ผู้ปลูกผักจะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดแมลงฉีดพ่นในปริมาณมาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาด เมื่อนำมาบริโภคแล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักนั้นได้ ซึ่งอาจเป็นต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่สำคัญมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก-ผลไม้ ที่ไม่ปลอดสารพิษเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกวิธี เพื่อเหตุผลการค้า และพาณิชย์ ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง เพื่อเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าวเกษตรกรจึงควรหันมาทำการปลูกผักให้ปลอดภัยจากสารพิษ โดยนำเอาวิธีการป้องกันและกำจัดศัตรูพืชที่มีอยู่หลายวิธีมาประยุกต์ใช้ร่วมกันเป็นการทดแทนหรือลดปริมาณการใช้สารเคมีให้น้อยลงเพื่อความปลอดภัยของผู้ปลูก ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม ด้วยเหตุนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลประจัน ร่วมกับประชาชนในตำบลร่วมกันคิดแก้ปัญหาดังกล่าว การปลูกผักปลอดสารพิษในระยะแรกใช้พื้นที่ปลูกบริเวณขององค์การบริหารส่วนตำบลประจันเพื่อใช้เป็นสถานที่ตัวอย่างและร่วมกันรับผิดชอบและร่วมกันเรียนรู้ และจะขยายพื้นที่ปลูกในพื้นที่อื่นๆ การส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน หากปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง แต่กระนั้นสำหรับประชาชนที่ไม่เคยปลูกผักเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ในการเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง ดังนั้นทางองค์การบริหารส่วนตำบลประจัน ได้ตระหนักในปัญหานี้ จึงได้จัดโครงการปลูกผักสวนครัว ปลอดสารพิษขึ้นต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

10.1 ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค 10.2 ประชาชมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น เนื่องจากได้รับประทานผักปลอดสารพิษ 10.3 การใช้สารเคมีและยากำจัดศัตรูพืชและยาฆ่าแมลงลดลง 10.4 ลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มรายได้จากการขายพืชผักที่ปลอดภัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ก.ค. 2568 15:43 น.