กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรู้เท่าทันบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้ามหัตภัยยาเสพติดใกล้ตัว ประจำปี 2568
รหัสโครงการ 68-L4139-02-20
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลตำบลยุโป
วันที่อนุมัติ 5 มิถุนายน 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 16,050.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอัฟฟาน สะตาปอ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.597,101.283place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบัน "บุหรี่ไฟฟ้า" ถือว่าได้รับความนิยมขึ้นกว่าในอดีตมาก ซึ่งแรกเริ่ม บุหรี่ไฟฟ้าได้รับการโฆษณา สรรพคุณว่าเป็นตัวช่วยที่ทำให้เลิกบุหรี่ให้ง่ายขึ้น และไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย แต่มาจนวันนี้ "บุหรี่ไฟฟ้า" ได้กลายเป็น มือนกับทางเลือกสำหรับ "วัยรุ่น" มากขึ้นในฐานะ "แฟชั่นใหม่" ภายใต้แนวความคิดที่ว่า "เท่ห์ สูบไ อันตรายต่อสุขภาพ" วิกฤตบุหรี่ไฟฟ้าไทย ระบาดเพิ่ม ๑๐ เท่าใน ๑ ปี เปิดเผยในวงสัมมนา 'บุหรี่ไฟหันตภัยไม่เงียบ าวชน' ซึ่งการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี ๒๕๖๕๖๔ พบประชากรไทยมีอัตราการสูบบุหรี่ไฟพั เป็นจำนวน ๗๘,๔๔๙๔๒ คน ของประชากรอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป โดยเป็นเยาวขนที่สูบบุหรี่ไฟฟ้า อายุ ๑๕-๒๔ ปี จำนวน ๒๔,๐๕๐ ะการสำรวจสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ ปี ๒๕๖๕ พบอัตราการสูบบุหรี่ไฟฟ้า๑.๒๓% ๐๙,๖๗๗ คน โดยเป็นเยาวชนที่สูบบุหรี่ไฟฟ้า อายุ ๑๕-๒๔ ปีจำนวน ๒๖๘,๕๕๕๓ คน ศ.พญ.สุวรรรณา เรื่องกาญจนเศรา กุมารแพทย์เด็กและวัยรุ่น ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีกล่าวถึงวิกฤตบุหรี่ไฟฟ้าใน ศไทยที่ระบาดเพิ่มขึ้นถึงประมาณ ๑๐ เท่า ใน ๑ ปีในเวทีเสวนา 'บุหรี่ไฟฟ้ามหันตภัยไม่เงียบล่าเยา สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๖ เมื่อวันที่ ๒๒ ธ.ค. ๒๕๖๖ ที่ผ่านมา ผศ.คร.นพ.วิชช์ เกษมทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัย และจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) กล่าวว่า สถานการณ์การสูบบุหรี่ไฟฟ้าของเยาวชนไทย น่าวิตกกังวลอย่าง ยิ่งเพราะอยู่ในช่วงระบาดขาขึ้น ที่จำเป็นต้องประสานความร่วมมืออย่างเป็นระบบและเข้มข้นจากทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ รือข่าย ซึ่งสิ่งที่สำคัญต้อง 'คงกฎหมายห้ามนำเข้าห้ามขายบุหรี่ไฟฟ้า'เพราะหากคิดว่าคุมไม่ไม่ได้ก็ยก ห้ามนำเข้าห้ามขายบุหรี่ไฟฟ้าไปเลย ไทยจะยิ่งตกอยู่ในสถานการณ์ลำบากกว่านี้ เหมือนแคนาดาและนิวซีแลนด์ที่เมื่อยกเลิกกฎหมายแล้ว อัตราการสูบบุหรี่ไฟฟ้าของเยาวขนพุ่งขึ้น ๒-๕ เท่าใน ๓ ปี ดังนั้นสิ่งที่ไทยจะต้องทำเร่งด่วนอกเหนือจากห้ามนำเข้า คือ 'เข้มงวดการบังคับใช้กฎหมายให้เคร่งครัด ในการจับ ปรับ อย่างจริงจัง ห้ามโฆษณาและห้ามขายโดยเฉพาะในสื่อออนไลน์' เหมือนกับที่สิงคโปร์และฮ่องกงดำเนินการ คาดการณ์ว่าอัตราการสูบบุหรี่ไฟฟ้าในเยาวชนไทยจะไม่เพิ่มขึ้นและจะค่อยๆ ลดลง ๑.๙๙% ใน ๓ ปี จากการสังเกตและติดตามประเมินภายในโรงเรียนพบว่า เด็กอายุ๑๑-๑๕ ปี บางกลุ่มมีพฤติกรรม เปลี่ยนไปอย่างผิดปกติเช่นติดเกมส์มาโรงเรียนพูดถึงแต่เกมส์ที่เล่นด้วยกันในค่ำคืนที่ผ่านมา ไม่สนใจเรียน ก้าวร้าวและหลับ ในห้องเรียน บางคนมีการขอ (ชู) เอาเงินจากเพื่อนๆและรุ่นน้องในโรงเรียนและ/หรือที่เล่นเกมส์ด้วยกัน และมีการโพสต์ใน เฟสบุ๊คกลุ่ม (ปิด) ชักชวนให้ซื้อบุหรี่ไฟฟ้า โดยเป็นตัวแทนขายตรงพร้อมกับชักชวนเพื่อนๆและรุ่นน้องให้ลองสูบบุหรี่ไฟฟ้า เป็นต้นเด็กที่มีฐานะค่อนข้างดีกลุ่มนี้จะมีทั้งเพื่อนในโรงเรียนเดียวกันและต่างโรงเรียนมีนัดที่จะไปพบกันทั้งในสนามกีฬา และสถานที่ใกล้ร้านจำหน่ายโดยผู้ปกครอง หรือ ครู ส่วนใหญ่ยังไม่รู้ ตลอดจนไม่รู้ถึงสาเหตุพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของบุตร หลานของตน เช่น ขอเงินมากกว่าปกติโดยอ้างเหตุชื่ออุปกรณ์การเรียน ฯลฯ ซึ่งสอดคล้องกับความเห็นของ ครูโรงเรียนแห่ง หนึ่ง ที่กล่าวว่า บุหรี่ไฟฟ้าถือว่ามาแรงในปัจจุบัน ซึ่งที่พบมีมากในกลุ่มของนักเรียนระดับขั้นขั้นมั้ยมศึกษา และที่น่าเป็นห่วงก็ บในระดับชั้น ป.๕ - ป.๖ และที่เพิ่งตรวจพบคือขั้น ป.๔ ทางชุมชนกือติง เทศบาลเมืองเบตงได้เห็นความสำคัญ จากการใช้บุหรี่ไฟฟ้าที่มีต่อกลุ่มเยาวชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มนักเรียนที่กำลังเข้าสู่วัยรุ่นวัยอยากรู้อยากลอง ชุมชมชนถึ อติง เทศบาลเมืองเบตง จึงได้จัดโครงการ "บุหรี่ไฟฟ้า มหันตภัยใหม่ใกล้ตัวนักสูบรุ่นเยาว์" เพื่อให้นักเรียนได้รับความวั รู้เท่าทันเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้า และเกิดความตระหนักถึงพิษภัยอันตรายจากการสูบของบุหรี่ไฟฟ้า และเป็นแกนนำในการช่วย เพื่อนมีให้ตกเป็นเหยื่อของการสูบบุหรี่ไฟฟ้า

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อใหู้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุหรี่บุหรี่ไฟฟ้าและยาเสพติด

เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมอบรมร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจพิษภัยของบุหรี่ไฟฟ้าและยาเสพติด

2 2.เพื่อใหู้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความตระหนักถึงอันตรายของพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า

เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมการอบรมร้อยละ 50 สามารถถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัวเพื่อนบ้านและชุมชนได้

3 3.เพื่อใหู้ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะในการปฎิเสธจากการชักชวนให้สูบบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า

เด็กและเยาวชที่เข้าร่วมการอบรมร้อยละ 70 มีทักษะในการปฏิเสธจากการชักชวนให้สูบบุหรี่ให้สูบบุหรี่ไฟฟ้า

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุหรี่ บุทรี่ไฟฟ้าและยาเสพติด ๒.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความตระหนักถึงอันตรายของพิพองพิษภัยของบุพละบุหรัก ๓. ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะในการปฏิเสยจากการชักชวนให้สูบบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 ก.ค. 2568 10:21 น.