โครงการพอกเข่าสมุนไพรบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุร่วมกับการนวดราชสำนัก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพอกเข่าสมุนไพรบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุร่วมกับการนวดราชสำนัก ”
ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจินต์สินี วรรณพงค์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการพอกเข่าสมุนไพรบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุร่วมกับการนวดราชสำนัก
ที่อยู่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ l8401-68-16 เลขที่ข้อตกลง 15/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพอกเข่าสมุนไพรบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุร่วมกับการนวดราชสำนัก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพอกเข่าสมุนไพรบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุร่วมกับการนวดราชสำนัก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพอกเข่าสมุนไพรบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุร่วมกับการนวดราชสำนัก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ l8401-68-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมไทยในปัจจุบันกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ขณะนี้ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด ๖๔.๕ ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นผู้สูงอายุอายุ ๖๐ ปีขึ้น จำนวน ๙.๔ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๕ ของประชากร โดยเพิ่มขึ้นปีละประมาณ ๕ แสนคน คาดว่าภายในปี ๒๕๖๘ ไทยก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) จากการพัฒนาทางด้านการแพทย์ อายุขัยที่เฉลี่ยเพิ่มขึ้นสะท้อนถึงความรุนแรงด้านการระบาดวิทยาของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุที่เพิ่ม ผู้สูงอายุมีชีวิตที่ยืนยาว แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบ จากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย นำไปสู่การถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพา ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ หรือช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลง พร้อมทั้งโรคที่มาตามวัย
ปัญหาโรคข้อเสื่อมเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ อัตราการเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมของข้อต่อภายหลังการใช้งานมานาน จึงเกิดขึ้นกับทุกคนเมื่อมีอายุมาก ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมคิดเป็นร้อยละ ๘๐ - ๙๐ ในผู้ที่มีอายุมากกว่า ๖๕ ปี และพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายเมื่ออายุ ๕๕ ปี ขึ้นไปก่อให้เกิดอาการปวดข้อเข่าขณะเคลื่อนไหว ข้อเข่าติด และพิสัยการเคลื่อนไหวข้อเข่าข้อลดลง ทำให้ส่งผลต่อการประกอบกิจวัตรประจำวัน การทำงาน รวมถึงสภาพจิตใจและคุณภาพชีวิต (วันทนียา วัชรีอุดมกาลและคณะ, ๒๕๕๗ ปิยาภรณ์ พงษ์เกิดลาภ , ๒๕๖๕)
เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมในตำบลบ้านทุ่งหวัง ได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และส่งเสริมการใช้สมุนไพรใกล้ตัว เพื่อถ่ายทอดความรู้และการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย ทั้งนี้กลุ่มงานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหวัง ได้เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ซึ่งในศาสตร์การแพทย์แผนไทย มีหัตการรักษาอาการปวดเข่า อาการข้อเข่าเสื่อมหลายวิธี อาทิ เช่น การนวด ประคบสมุนไพร การเผายาสมุนไพร (เข่า) และการพอกเข่าสมุนไพร เพื่อลดหรือบรรเทาอาการปวดและลดการอักเสบ โดยเฉพาะการพอกเข่าสมุนไพรเป็นหัตถการหนึ่งที่ช่วยบรรเทาอาการปวดเข่า สมุนไพรที่ใช้เป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดตามข้อและเข่า หาง่ายตามถิ่นที่อยู่อาศัย อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และลดการพึ่งพาการใช้ยาแผนปัจจุบัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคเข่าเสื่อม
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ทำให้เกิดโรคเข่าเสื่อม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x มื้อละ ๒๕ บาท × ๒ ครั้ง
- - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x มื้อละ 5๐ บาท
- - ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน x ชั่วโมงละ 600 บาท × เวลา 6 ชั่วโมง
- - ค่าอุปกรณ์และค่าสมุนไพร
- - ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.20 x 3 เมตร จำนวน 1 ป้าย พร้อมออกแบบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพในพื้นที่เขตรับผิดชอบ ๕ หมู่บ้าน ในเขตพื้นที่ตำบลทุ่งหวังได้รับความรู้ เรื่องสาเหตุและการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม
๒. ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพในพื้นที่เขตรับผิดชอบ ๕ หมู่บ้าน ในเขตพื้นที่ตำบลทุ่งหวังสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ให้กับบุคคลอื่นได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคเข่าเสื่อม
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ทำให้เกิดโรคเข่าเสื่อม
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคเข่าเสื่อม (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ทำให้เกิดโรคเข่าเสื่อม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x มื้อละ ๒๕ บาท × ๒ ครั้ง (2) - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x มื้อละ 5๐ บาท (3) - ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน x ชั่วโมงละ 600 บาท × เวลา 6 ชั่วโมง (4) - ค่าอุปกรณ์และค่าสมุนไพร (5) - ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.20 x 3 เมตร จำนวน 1 ป้าย พร้อมออกแบบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพอกเข่าสมุนไพรบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุร่วมกับการนวดราชสำนัก จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ l8401-68-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวจินต์สินี วรรณพงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพอกเข่าสมุนไพรบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุร่วมกับการนวดราชสำนัก ”
ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจินต์สินี วรรณพงค์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ l8401-68-16 เลขที่ข้อตกลง 15/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพอกเข่าสมุนไพรบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุร่วมกับการนวดราชสำนัก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพอกเข่าสมุนไพรบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุร่วมกับการนวดราชสำนัก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพอกเข่าสมุนไพรบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุร่วมกับการนวดราชสำนัก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ l8401-68-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมไทยในปัจจุบันกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ขณะนี้ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด ๖๔.๕ ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นผู้สูงอายุอายุ ๖๐ ปีขึ้น จำนวน ๙.๔ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๕ ของประชากร โดยเพิ่มขึ้นปีละประมาณ ๕ แสนคน คาดว่าภายในปี ๒๕๖๘ ไทยก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) จากการพัฒนาทางด้านการแพทย์ อายุขัยที่เฉลี่ยเพิ่มขึ้นสะท้อนถึงความรุนแรงด้านการระบาดวิทยาของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุที่เพิ่ม ผู้สูงอายุมีชีวิตที่ยืนยาว แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบ จากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย นำไปสู่การถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพา ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ หรือช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลง พร้อมทั้งโรคที่มาตามวัย
ปัญหาโรคข้อเสื่อมเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ อัตราการเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมของข้อต่อภายหลังการใช้งานมานาน จึงเกิดขึ้นกับทุกคนเมื่อมีอายุมาก ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมคิดเป็นร้อยละ ๘๐ - ๙๐ ในผู้ที่มีอายุมากกว่า ๖๕ ปี และพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายเมื่ออายุ ๕๕ ปี ขึ้นไปก่อให้เกิดอาการปวดข้อเข่าขณะเคลื่อนไหว ข้อเข่าติด และพิสัยการเคลื่อนไหวข้อเข่าข้อลดลง ทำให้ส่งผลต่อการประกอบกิจวัตรประจำวัน การทำงาน รวมถึงสภาพจิตใจและคุณภาพชีวิต (วันทนียา วัชรีอุดมกาลและคณะ, ๒๕๕๗ ปิยาภรณ์ พงษ์เกิดลาภ , ๒๕๖๕)
เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมในตำบลบ้านทุ่งหวัง ได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และส่งเสริมการใช้สมุนไพรใกล้ตัว เพื่อถ่ายทอดความรู้และการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย ทั้งนี้กลุ่มงานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหวัง ได้เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ซึ่งในศาสตร์การแพทย์แผนไทย มีหัตการรักษาอาการปวดเข่า อาการข้อเข่าเสื่อมหลายวิธี อาทิ เช่น การนวด ประคบสมุนไพร การเผายาสมุนไพร (เข่า) และการพอกเข่าสมุนไพร เพื่อลดหรือบรรเทาอาการปวดและลดการอักเสบ โดยเฉพาะการพอกเข่าสมุนไพรเป็นหัตถการหนึ่งที่ช่วยบรรเทาอาการปวดเข่า สมุนไพรที่ใช้เป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดตามข้อและเข่า หาง่ายตามถิ่นที่อยู่อาศัย อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และลดการพึ่งพาการใช้ยาแผนปัจจุบัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคเข่าเสื่อม
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ทำให้เกิดโรคเข่าเสื่อม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x มื้อละ ๒๕ บาท × ๒ ครั้ง
- - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x มื้อละ 5๐ บาท
- - ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน x ชั่วโมงละ 600 บาท × เวลา 6 ชั่วโมง
- - ค่าอุปกรณ์และค่าสมุนไพร
- - ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.20 x 3 เมตร จำนวน 1 ป้าย พร้อมออกแบบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพในพื้นที่เขตรับผิดชอบ ๕ หมู่บ้าน ในเขตพื้นที่ตำบลทุ่งหวังได้รับความรู้ เรื่องสาเหตุและการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม
๒. ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพในพื้นที่เขตรับผิดชอบ ๕ หมู่บ้าน ในเขตพื้นที่ตำบลทุ่งหวังสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ให้กับบุคคลอื่นได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคเข่าเสื่อม ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ทำให้เกิดโรคเข่าเสื่อม ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคเข่าเสื่อม (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ทำให้เกิดโรคเข่าเสื่อม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x มื้อละ ๒๕ บาท × ๒ ครั้ง (2) - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x มื้อละ 5๐ บาท (3) - ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน x ชั่วโมงละ 600 บาท × เวลา 6 ชั่วโมง (4) - ค่าอุปกรณ์และค่าสมุนไพร (5) - ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.20 x 3 เมตร จำนวน 1 ป้าย พร้อมออกแบบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพอกเข่าสมุนไพรบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุร่วมกับการนวดราชสำนัก จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ l8401-68-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวจินต์สินี วรรณพงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......