กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่าวพะยูน


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปากพะยูน ”

อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ฉลวย ชีญาดา

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปากพะยูน

ที่อยู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3337-2-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปากพะยูน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่าวพะยูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปากพะยูน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปากพะยูน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3337-2-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่าวพะยูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานแระโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่พบมานานนับศตวรรษ เป็นกลุ่มโรคเรื้อรังในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (non communicable disease) ที่บั่นทอนสุขภาพของผู้ป่วยให้ลดน้อยลง ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆแก่ร่างกายทั้งเฉียบพลันและเรื่อรังมากมาย เช่น โรคหัวใจ ไตวาย ตาบอด เส้นเลือดในสองตีบ เป็นอัมพาตครึ่งซีก เป็นต้น ซึ่งโรคแทรกซ้อนดังกล่าวเป็นสาเหตุหนึ่ง ที่นำไปสู่ภาวะทุพพลภาพต่อไป แม้ว่าปัจจุบันวิทยาการทางด้านการแพทย์จะก้าวหน้าไปมากก็ตาม แต่ความชุกและอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคดังกล่าวกลับมีแนวโน้มสูงขึ้น สถานการณ์ของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีอุบัติการณ์สูงขึ้นอย่างมาก โรคเบาหวานก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 954.18 ต่อประชากรแสนคน ใน พ.ศ.2553 เพิ่มเป็น 1233.35 และโรคความดันโลหิตสูงมีมีอัตราเพิ่มขึ้นจาก 1354.39 ต่อประชากรแสนคน ใน พ.ศ. 2553 เพิ่มเป็น1894.46 (สำนักงานโรคเบาหวานและโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 2559) และจากการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงของจังหวัดพัทลุง พบว่าอัตราป่วยโรคเบาหวานและโรคควมดันโลหิตสูง มีอัตราเพิ่มขึ้น (งานส่งเสริมสุขภาพและควบคุมโรคไม่ติดต่อ สสจ. พัทลุง 2559) สำหรับศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปากพะยูนมีกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองพบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 296 คน คิดเป็นร้อยละ 11.97(ปีงบประมาณ 2560)กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 11423 คิดเป็นร้อยละ 50.88 (ปีงบประมาณ 2560) กลุ่มป่วยโรคบาหวาน จำนวน 101 คน คิดเป็นร้อยละ 2.3 กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 191 คนคิดเป็นร้อย 5.53 จากภาวการณ์และเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ทำให้มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ป่วยจะต้องมีความรู้ ความตระหนักในการดูแลตนเองโดยมีจิตอาสา อาสาสมัครชุมชนและแกนนำชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนอย่างจริงจัง ซึ่งสามารถป้องกันและช่วยให้ผู้ป่วยพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง นำความรู้ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง นอกเหนือจากการพึ่งยาสในการตรวจรักษาของแพทย์หรือทีมสุขภาพซึ่งคาดว่าจะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนของโรค ปัญหาการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค วรมทั้งสามารถลดปัญหาสาธารณสุขไปได้ส่วนหนึ่ง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปากพะยูนได้เล็งเห็นความสำคัญและตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปากพะยูนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  2. 2.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถ ควบคุมโรคที่เป็นอยู่ได้
  3. 3.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้ป่วยความดันโลหิตสุง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมให้ความรู้
  2. 2. กิจกรรมฐานปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. 3. กิจกรรมติดตามผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยต้นแบบสามารถถ่ายทอดวิธีปฎิบัติตนแก่ผู้อื่นได้ 2.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงไม่เพิ่มขึ้นจากเดิม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ด้านพฤติกรรมบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการอารมณ์ ที่ถูกต้อง ร้อยละ 80 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมการบริโภค การออกกำลังกาย ได้ถูกต้องร้อยละ 50
0.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถ ควบคุมโรคที่เป็นอยู่ได้
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ 40 และผู้ป่วยความดันได้ร้อยละ 50 2.ผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการและควบคุมระดับความดันไม่ใด้ได้รับการทำ hbp ร้อยละ 50
0.00

 

3 3.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้ป่วยความดันโลหิตสุง
ตัวชี้วัด : 1.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงไม่เพิ่มขึ้นจากเดิม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีคุณภาพชีวิตที่ดี (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถ ควบคุมโรคที่เป็นอยู่ได้ (3) 3.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้ป่วยความดันโลหิตสุง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมให้ความรู้ (2) 2. กิจกรรมฐานปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) 3. กิจกรรมติดตามผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปากพะยูน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3337-2-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ฉลวย ชีญาดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด