กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้สุขภาพกลุ่มสตรี ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข เทศบาลตำบลบาเจาะ




ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้สุขภาพกลุ่มสตรี ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L8279-2-68 เลขที่ข้อตกลง 9/68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 สิงหาคม 2568 ถึง 14 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้สุขภาพกลุ่มสตรี ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้สุขภาพกลุ่มสตรี ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้สุขภาพกลุ่มสตรี ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L8279-2-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 สิงหาคม 2568 - 14 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของสตรรีเทสบาลตำบลบาเจาะ พบว่า ปัญหาสุขภาพของสตรีวัยเจริญพันธุ์ถึงวัยกลางคน ช่วยอายุ 15-59 ปี คือ การมีดัชนีมวลกายสูง กระดูกพรุน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูงและมะเร็ง ซึ่งโรคมะเร็งปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านมในสตรีเป็นปัญหาสุขภาพที่มีแนวโน้มสูงขึ้น การเสริมสร้างพลังอำนาจสำหรับสตรีในการป้องกันสุขภาพ พบว่าสตรีอายุ 15-49 ปี มีปัจจัยความเสิ่ยง คือ สตรีที่ละเลยการตรวจสุขภาพ ปัญหาสำคัญ คือ 1) บกพร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง 2) ขาดแรงจูงใจและแรงสนับสนุน โดยเฉพาะจากสามี อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้นำชุมชน 3) ปัญหาในเรื่องของอุปสรรคทางวัฒนธรรม คือ ความอาย ซึ่งต้องการการเสริมสร้างพลังอำนาจในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ รูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจเป็นรูปแบบที่สร้างขึ้นจากคำแนะนำของกลุ่มสตรี คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่วมกับการจัดกิจกรรม เพื่อสุขภาพในแต่ละหมู่บ้าน อนามัยเจริญพันธุ์เป็นสุขภาพอนามัยที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการและหน้าที่ของการเจริญพันธุ์ในทุกช่วงของชีวิตองค์ประกอบพื้นฐาน ได้แก่ สตรีมีความสามารถเจริญพันธุ์ได้ มีบุตรได้ และสามารถมีความสุข กับการมีความสัมพันธ์ทางเพศได้ สามารถมีบุตรแข็งแรงและบุตรมีการเจริญเติบโต และพัฒนาการตามวัย มีวิธีคุมกำเนิดที่ปลอดภัย และมีการดูแลสตรีระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด ระยะหลังคลอด มีผลทำให้สตรีและบุตร ได้รับความปลอดภัย รวมทั้งความต้องการทางเพศ ไม่ทำให้เกิดความเสี่ยงสูง ต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ อนามัยเจริญพันธุ์ไม่ดีจะมีผลเสียต่อสตรีอย่างมาก โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การส่งเสริมสถานภาพของสตรีทำให้ในขีดจำกัด การบริการดูแลอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมจะเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น การดูแลส่งเสริมให้สตรีมีการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมตามวัย รวมทั้งการได้รับบริการตรวจค้นหา เพื่อป้องกันโรค การส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์ของสตรี จึงเป็นการส่งเสริมสุขภาพของสตรีให้มีสุขภาพดี และคุณภาพชีวิตด้วยทางหนึ่ง สุขภาพสตรี ปัญหาที่สำคัญ คือความเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้โดยการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม การออกกำลังกาย การพักผ่อนหยุ่นใยเพื่อคลายเครียด การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ และการตรวจคัดกรองโรคด้วยตนเอง เป็นต้น การออกกำลังกายเพื่อพฤติกรรมสุขภาพประการหนึ่งที่สำคัญ การออกกำลังกายติดต่อกันอย่างน้อย 6-12 เดือน อย่างสม่ำเสมอจะให้ประโยชน์ทังต่อด้านร่างกายและจิตใจ ด้านร่างกาย เช่น ระบบไหลเวียน ผลดีต่อการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ การออกกำลังกายทำให้ปอดขยายใหญ่ขึ้น เป็นการเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเกิดกระดูหักจากโรคกระดูกพรุนได้ สตรีในฐานะที่เป็นบุคลากรสุขภาพ ควรตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพผู้หญิง ควรตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพสตรี ควรให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก เช่น การจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี อารมณ์ดีชีวีมีสุข โดยการผสมผสานการดูแลสุขภาพหลากหลายวิธี เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของสตรี และให้สตรีมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและรับผิดชอบการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อนำไปสู่การส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเองที่ยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพสตรีในเรื่องของการออกกำลังกาย การจัดการความเครียด อาหาร และการป้องกันโรคต่าง ๆ
  2. เพื่อให้สตรีมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพสตรีในการป้องกันโรค
  3. เพื่อให้สตรีสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 88
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สตรีมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพสตรีในเรื่องของการออกกำลังกาย การจัดการความเครียด อาหาร และการป้องกันโรคต่าง ๆ 2.สตรีมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพสตรีในการป้องกันโรค 3.สตรีสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้สตรีมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพสตรีในเรื่องของการออกกำลังกาย การจัดการความเครียด อาหาร และการป้องกันโรคต่าง ๆ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้สตรีมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพสตรีในการป้องกันโรค
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้สตรีสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวได้
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 88
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 88
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพสตรีในเรื่องของการออกกำลังกาย การจัดการความเครียด อาหาร และการป้องกันโรคต่าง ๆ (2) เพื่อให้สตรีมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพสตรีในการป้องกันโรค (3) เพื่อให้สตรีสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้สุขภาพกลุ่มสตรี ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ L8279-2-68

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข เทศบาลตำบลบาเจาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด