โครงการโรงเรียนร่วมใจ เฝ้าระวังโรคติดต่อ ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการโรงเรียนร่วมใจ เฝ้าระวังโรคติดต่อ ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L2500-02-16 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านลุโบะบายะ |
วันที่อนุมัติ | 16 กรกฎาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 30,120.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | โรงเรียนบ้านลุโบะบายะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | - |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลุโบะบายะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.422,101.663place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 16 ก.ค. 2568 | 16 ก.ค. 2568 | 30,120.00 | |||
รวมงบประมาณ | 30,120.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 150 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของนักเรียนทุกคน ให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี ที่จะอยู่อาศัยในโรงเรียนได้อยู่ได้อย่างเท่าเทียมกันและอยู่ร่วมกันกับครูและเพื่อนๆอย่างสงบสุข มีความสะดวกสบาย สะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการและความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม โรงเรียนที่มีการจัดการ ควบคุมส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยเอื้อและขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของโรงเรียน โดยมุ่งหวังให้เด็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ทางกาย สังคมและจิตวิญญาณ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเสริมสร้างสุขภาพและครูได้รับการส่งเสริมให้สามารถทำงานได้อย่างมีความสุขกาย สบายใจ ครู ผู้ปกครองและชุมชนมีบทบาทสำคัญยิ่งในการพัฒนาโรงเรียน เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งด้านการดูแลร่างกายตนเองและความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้พฤติกรรมสุขภาพที่ดีและทำให้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ผู้ปกครองและครูได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆเพื่อให้สามารถดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครองเข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรมโดยสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียนอย่างต่อเนื่องระหว่างบ้านและโรงเรียน โรงเรียนบ้านลุโบะบายะเห็นความสำคัญ การส่งเสริมการดำเนินการเตรียมความพร้อมตามมาตรฐานการป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียน เนื่องด้วยปัจจุบันโรคติดต่อสำคัญ ที่กระทรวงสาธารณสุขต้องป้องกันและควบคุมในโรงเรียน ได้แก่ โรคหวัด โรคมือเท้าปาก โรคสุกใส โรคตาแดงและโรคอุจจาระร่วง เป็นต้น ซึ่งโรคติดต่อเหล่านี้ สามารถติดต่อกันได้ทั้งการหายใจ เอาละอองอากาศที่มีเชื้อปนอยู่เข้าไป การไอหรือจามรดกัน และการใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกัน รวมทั้งการรับประทานอาหารและดื่มน้ำที่ปนเปื้อนเข้าไป หากเด็กที่อยู่ในโรงเรียนเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อเหล่านี้ ก็สามารถแพร่กระจายสู่กันและแพร่กระจายสู่ชุมชนได้ง่าย ซึ่งจากการดำเนินงานโรงเรียนช่วยให้เด็กมีสุขภาพกายใจที่ดี ลดอุบัติการณ์การเกิดโรค ดังนั้นโรงเรียนบ้านลุโบะบายะ จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนร่วมใจ เฝ้าระวังโรคติดต่อ ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อส่งเสริมสุขภาพและอนามัยของเด็กในโรงเรียน เพื่อให้เด็กและครูที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงความสำคัญของสุขภาพอนามัยและการรู้จักการดูแลสุขภาพร่างกายได้ด้วยตนเองรวมถึงเป็นการส่งเสริมให้เด็ก มีสุขภาพที่แข็งแรงและปลอดจากโรคต่างๆ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อให้ครูและนักเรียน มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค 2 เพื่อให้ครูและนักเรียน มีทักษะในการจัดสิ่งแวดล้อม 3 เพื่อให้ครูและนักเรียน มีสุขภาพแข็งแรง ปลอดโรคภัยไข้เจ็บ 1 ครูและนักเรียน มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค 2 ครูและนักเรียน มีทักษะในการจัดสิ่งแวดล้อม 3 ครูและนักเรียน มีสุขภาพแข็งแรง ปลอดโรคภัยไข้เจ็บ |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|
1 | โครงการโรงเรียนร่วมใจ เฝ้าระวังโรคติดต่อ ประจำปี 2568(1 ก.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) | 0.00 | |||
รวม | 0.00 |
1 โครงการโรงเรียนร่วมใจ เฝ้าระวังโรคติดต่อ ประจำปี 2568 | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1 ประชุมผู้รับผิดชอบโครงการ
2 จัดทำโครงการเสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณา
3 ประชาสัมพันธ์การอบรมและขอความร่วมมือจากบุคลากรโรงเรียนในตำบลลุโบะบายะ
4 จัดเตรียมเอกสาร , อุปกรณ์ และสถานที่สำหรับผู้เข้ารับการอบรม
5 ติดต่อเชิญวิทยากรและกำหนดนัดหมาย
6 จัดอบรมตามโครงการ
7 ประเมินและสรุปโครงการ
8 รายงานผลการอบรม
1 ครูและนักเรียน ได้รับความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค 2 ครูและนักเรียน มีทักษะในการจัดสิ่งแวดล้อม 3 เพื่อให้ครูและนักเรียน มีสุขภาพแข็งแรง ปลอดโรคภัยไข้เจ็บ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ก.ค. 2568 15:48 น.