กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน (ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นบ้านนาทุ่งโพธิ์) ”
ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางสาววรรณา คงนิล




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน (ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นบ้านนาทุ่งโพธิ์)

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2568-L3306-02-049 เลขที่ข้อตกลง 051/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน (ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นบ้านนาทุ่งโพธิ์) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน (ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นบ้านนาทุ่งโพธิ์)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน (ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นบ้านนาทุ่งโพธิ์) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3306-02-049 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
    ปัจจุบันสังคมไทยได้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรมจากต่างชาติเข้ามาเป็นจำนวนมากซึ่งส่วนใหญ่ขัดต่อจารีตประเพณีของไทย พร้อมทั้งสื่อในในโลกออนไลน์ปัจจุบัน ได้เข้ามามีอิทธิพลเป็นอย่างมากต่อสังคมเป็นเหตุให้เยาวชน ซึ่งเป็นผู้เสพสื่อส่วนใหญ่ได้รับวัฒนธรรมที่ผิดไปจากวัฒนธรรมเดิมทำให้เยาวชนส่วนใหญ่มักมีนิสัยก้าวร้าว อยากลองกระทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเองอย่างขาดความยั้งคิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเสพสารเสพติดชนิดต่างๆ การป้องกันเน้นการสร้างกลไกการเฝ้าระวังยาเสพติด สร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชนอย่างเหมาะสมด้วยการเรียนการสอนที่ส่งเสริมกิจกรรมนอกหลักสูตร รวมถึงการสนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นพื้นที่สีขาว ห่างไกลและปลอดภัยจากยาเสพติด นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ของคนในชุมชน เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับชุมชน ซึ่งโครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นโครงการในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี มีดำเนินงานภายใต้ 3 ยุทธศาสตร์หลัก เพื่อรณรงค์ปลุกจิตสำนึกและสร้างกระแสเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด พัฒนาสมาชิกชมรมให้เป็นคนที่มีความเชื่อมั่นในตัวเอง เป็นหนึ่งไม่พึ่งพายาเสพติด สนับสนุนให้เยาวชนรวมกลุ่มทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และช่วยเหลือยอมรับผู้หลงผิดให้กลับเป็นคนดีของสังคมรวมทั้งเผยแพร่ความรู้เรื่องยาเสพติดแก่เยาวชนและประชาชนทั่วไป โดยสนับสนุนให้ชุมชน จัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE และให้มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องยึดหลักการเด็กนำผู้ใหญ่หนุน สร้างแกนนำชมรมที่มีศักยภาพสามารถดำเนินงาน/กิจกรรมของชมรมได้อย่างต่อเนื่องยั่งยืน ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE เป็นกิจกรรมหนึ่งของชมรม TO BE NUMBER ONE ที่มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เน้นการช่วยเหลือดูแลสมาชิกและพัฒนาสมาชิกให้มีคุณภาพและมีความสุข การดำเนินงานภายใต้แนวคิด “ปรับทุกข์ สร้างสุข แก้ปัญหา พัฒนา EQ” ทั้งจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม อาศัยกระบวนการกลุ่มให้เกิดความสนุก พร้อมกับการพัฒนาทักษะต่างๆ อาทิ การควบคุมอารมณ์ และความต้องการของตนเอง รู้จักเห็นใจผู้อื่น มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม (ดี)มีความสามารถ ในการรู้จักตนเอง มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจแก้ปัญหา แสดงออกได้อย่างเหมาะสม และมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น (เก่ง) มีความภาคภูมิใจในตนเอง พอใจในชีวิต มีความสงบสุขทางใจ และสามารถดำเนินชีวิตอย่างเป็นสุข (สุข) รวมทั้งจัดบริการเพื่อให้โอกาสสำหรับการแสดงออกถึงพลังสร้างสรรค์ที่มีอยู่ ของวัยรุ่นในชุมชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิต และป้องกันแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่นเชิงรุกในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาวัยรุ่นได้     ชมรม TO BE NUMBER ONE บ้านนาทุ่งโพธิ์ หมู่ที่ ๑1 ตำบลคลองเฉลิม ร่วมกับ จึงเล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและลดปัญหายาเสพติด จัดทำโครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน (ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นบ้านนาทุ่งโพธิ์) ขึ้นเพื่อให้สมาชิกชมรมได้มีพฤติกรรมการป้องกันยาเสพติดที่เหมาะสมเพิ่มการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ ตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้สมาชิกในชมรม TO BE NUMBER ONE บ้านนาทุ่งโพธิ์ มีความรู้เรื่องพฤติกรรมการป้องกันยาเสพติดที่เหมาะสม
  2. 2 ให้เด็ก เยาวชน และประชาชน มีกิจกรรมร่วมกันเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุมคณะทำงานชมรม TO BE NUMBER ONE บ้านนาทุ่งโพธิ์ เพื่อจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ เป็นที่พึ่งพาทางใจ คอยปรับทุกข์ และให้คำปรึกษาคอยให้กำลังใจ ช่วยเหลือเพื่อน 4 ครั้ง/ปี จำนวน 20 คน
  2. 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ชมรม TO BE NUMBER ONE หมู่ที่ 11 บ้านนาทุ่งโพธิ์ เรื่องการคบเพื่อน และทักษะการปฏิเสธ เพื่อน เรื่องยาเสพติด โทษและพิศภัยปัญหายาเสพติด และการปฏิเสธที่ถูกวิธี
  3. 3.กิจกรรมการเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์ โดยเข้าร่วมกิจกรรมในระดับต่างๆ อำเภอ และ จังหวัด นของศูนย์เพื่อใจวัยรุ่นในชุมชน อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง
  4. ประชุมคณะทำงานชมรม TO BE NUMBER ONE บ้านนาทุ่งโพธิ์ เพื่อจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ เป็นที่พึ่งพาทางใจ คอยปรับทุกข์ และให้คำปรึกษาคอยให้กำลังใจ ช่วยเหลือเพื่อน 4 ครั้ง/ปี จำนวน 20 คน
  5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ชมรม TO BE NUMBER ONE หมู่ที่ 11 บ้านนาทุ่งโพธิ์ เรื่องการคบเพื่อน และทักษะการปฏิเสธ เพื่อน เรื่องยาเสพติด โทษและพิศภัยปัญหายาเสพติด และการปฏิเสธที่ถูกวิธี
  6. 3.กิจกรรมการเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์ โดยเข้าร่วมกิจกรรมในระดับต่างๆ อำเภอ และ จังหวัด นของศูนย์เพื่อใจวัยรุ่นในชุมชน อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อให้เยาวชน และประชาชนทั่วไป มีทัศนคติและค่านิยมที่ถูกต้องที่เกี่ยวกับยาเสพติด โทษและพิศภัยปัญหายาเสพติด
2.เพื่อให้เยาวชนและประชาชนได้เข้าถึงศูนย์เพื่อนใจมากขึ้น ลดปัญหายาเสพติดและปัญหาอื่นๆของชุมชน
3.เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกในชมรมใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ห่างไกลจากยาเสพติด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้สมาชิกในชมรม TO BE NUMBER ONE บ้านนาทุ่งโพธิ์ มีความรู้เรื่องพฤติกรรมการป้องกันยาเสพติดที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : สมาชิก TO BE NUMBER ONE บ้านนาทุ่งโพธิ์ มีความรู้เรื่องพฤติกรรมการป้องกันยาเสพติดที่เหมาะสม

 

2 2 ให้เด็ก เยาวชน และประชาชน มีกิจกรรมร่วมกันเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 2 เด็ก เยาวชน และประชาชน มีกิจกรรมร่วมกันเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด อย่างน้อย 2 กิจกรรม/ปี

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้สมาชิกในชมรม TO BE NUMBER ONE บ้านนาทุ่งโพธิ์ มีความรู้เรื่องพฤติกรรมการป้องกันยาเสพติดที่เหมาะสม (2) 2  ให้เด็ก เยาวชน และประชาชน มีกิจกรรมร่วมกันเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมคณะทำงานชมรม TO BE NUMBER ONE บ้านนาทุ่งโพธิ์ เพื่อจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ เป็นที่พึ่งพาทางใจ คอยปรับทุกข์ และให้คำปรึกษาคอยให้กำลังใจ ช่วยเหลือเพื่อน 4 ครั้ง/ปี จำนวน 20 คน (2) 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ชมรม TO BE NUMBER ONE หมู่ที่ 11  บ้านนาทุ่งโพธิ์  เรื่องการคบเพื่อน และทักษะการปฏิเสธ เพื่อน เรื่องยาเสพติด โทษและพิศภัยปัญหายาเสพติด และการปฏิเสธที่ถูกวิธี (3) 3.กิจกรรมการเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์ โดยเข้าร่วมกิจกรรมในระดับต่างๆ อำเภอ และ จังหวัด นของศูนย์เพื่อใจวัยรุ่นในชุมชน อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง (4) ประชุมคณะทำงานชมรม TO BE NUMBER ONE บ้านนาทุ่งโพธิ์ เพื่อจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ เป็นที่พึ่งพาทางใจ คอยปรับทุกข์ และให้คำปรึกษาคอยให้กำลังใจ ช่วยเหลือเพื่อน 4 ครั้ง/ปี จำนวน 20 คน (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ชมรม TO BE NUMBER ONE หมู่ที่ 11  บ้านนาทุ่งโพธิ์  เรื่องการคบเพื่อน และทักษะการปฏิเสธ เพื่อน เรื่องยาเสพติด โทษและพิศภัยปัญหายาเสพติด และการปฏิเสธที่ถูกวิธี (6) 3.กิจกรรมการเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์ โดยเข้าร่วมกิจกรรมในระดับต่างๆ อำเภอ และ จังหวัด นของศูนย์เพื่อใจวัยรุ่นในชุมชน อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน (ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นบ้านนาทุ่งโพธิ์) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2568-L3306-02-049

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรรณา คงนิล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด