กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการขยับกายสบายชีวา
รหัสโครงการ 001/61
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลพนมสารคาม
วันที่อนุมัติ 22 กันยายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 1 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 86,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอรวรรณ เรืองสุขสุด,นางกมลพร แสงนาค,นางสาวสารี่ วันเทวิน ,นางลาวัลย์ สีใส .นางสรวีย์ จันธรรมาพิทักษ์
พี่เลี้ยงโครงการ นางเนาวรัตน์ สอนเจริญ
พื้นที่ดำเนินการ เทศบาลตำบลพนมสารคาม อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
ละติจูด-ลองจิจูด 13.771,101.324place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2560 30 ก.ย. 2561 1 ต.ค. 2560 30 ก.ย. 2561 86,400.00
รวมงบประมาณ 86,400.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
55.00
2 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
55.00
3 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
50.00
4 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ระบบสุขภาพของประชาชนในชุมชนมีข้อมูลยืนยันว่ามีสาเหตุหลักสองประการคือ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และภาวะปัจจัยเสี่ยงที่ทำลายระบบสุขภาพซึ่งมีสาเหตุมาจากปัจจัยหลัก ๕ ประการคือ การเพิ่มกิจกรรมทางกาย การบริโภคหรือมีอาหารที่ปลอดภัย การลดปัจจัยเสี่ยงจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์การลดปัจจัยเสี่ยงจากการสูบบุหรี่และการลดปัจจัยเสี่ยงจากการใช้สารเสพติด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

55.00 60.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

50.00 55.00
3 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

80.00 85.00
4 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

55.00 65.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 86,400.00 3 86,400.00
??/??/???? กิจกรรมแอร์โรบิคสนามกีฬาหนองพานและพนมแลนด์ 0 86,400.00 86,400.00
??/??/???? เดิน- วิ่ง รอบหนองพาน 0 0.00 0.00
??/??/???? สาธิตและส่งเสริมแปลงสมุนไพรและการจัดการขยะสวนหนองพาน 0 0.00 0.00

จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องที่มาใช้สวนสาธารณะหนองพานในการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดการ ร่วมกับการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การจัดตั้งชมรมแอโรบิค การจัดตั้งกลุ่มเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ แล้วต่อยอดด้วยการให้คำแนะนำในการจัดการขยะและสร้างสวนสมุนไพรในที่ดินของสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติหนองพาน เพื่อให้เกิดกระบวนการในการสร้างกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ม.ค. 2561 10:18 น.