กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชนและชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่ม/ชุมชน/กลุ่มเป้าหมาย มีการรวมตัวกันตรวจสุขภาพ บันทึกผล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตัวเองผ่านกระบวนการของปิงปอง 7 สี หรือด้วยนวัตกรรมอื่นๆอย่างต่อเนื่องทุกๆ 1-2 เดือน
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกิดความตระหนัก ในการตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : กลุ่ม/ชุมชน/กลุ่มเป้าหมาย มีการรวมตัวกันตรวจสุขภาพ บันทึกผล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตัวเองผ่านกระบวนการของปิงปอง 7 สี หรือด้วยนวัตกรรมอื่นๆอย่างต่อเนื่องทุกๆ1-2 เดือน
0.00

 

3 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนด้วยกันเอง
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนด้วยกันเอง
0.00

 

4 เพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยสีเหลือง สีส้ม สีแดง และสีดำ มีการเปลี่ยนแปลงของสีที่ดีขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 50 ของคนที่เข้าร่วมทั้งหมด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชนและชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกิดความตระหนัก ในการตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนด้วยกันเอง (4) เพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตนเอง (2) กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (3) กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (4) กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (5) กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (6) กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh