กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่


“ โครงการต้นแบบสุขภาพเด็กดีศรีบรรพต ”

ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายจิรภัทร์ เชาวมาลี นายแพทย์ปฏิบัตืการ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศรีบรรพต

ชื่อโครงการ โครงการต้นแบบสุขภาพเด็กดีศรีบรรพต

ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3366-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการต้นแบบสุขภาพเด็กดีศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการต้นแบบสุขภาพเด็กดีศรีบรรพต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการต้นแบบสุขภาพเด็กดีศรีบรรพต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3366-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็กโดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด - 5 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน ก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ซึ่งการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นกระบวนการวางรากฐานพัฒนาการเด็กโดยได้รับอาหารที่เหมาะสมเพียงพอ พร้อมสร้างความรักความอบอุ่น และพัฒนาสมองของลูกตั้งแต่แรกเกิด ลูกได้รับการเลี้ยงดูด้วย “นมแม่คือหยดแรกของสายใยรักแห่งครอบครัว”ส่วนเรื่องพัฒนาการและโภชนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่น เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สามารถช่วยเหลือต้นเองได้ มีอารมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอารมณ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี และมีการสนใจเรียนเรียนรู้สิ่งรอบตัว ในทางตรงกันข้ามเด็กที่มีสุขภาพไม่ดี มักจะประสบปัญหาด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้า หรือหยุดชะงักชั่วขณะ อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการเศร้าซึม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้สิ่งต่างๆซึ่งปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เด็กภาวะมีสุขภาพดี มีพัฒนาการที่สมวัยเกิดจากผู้ปกครองต้องมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เรื่องโภชนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการเด็กในด้านต่างๆ
การวิเคราะห์สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลศรีบรรพตปีงบประมาณ ๒๕๕8,2559และ 2560พบว่า เด็ก ๐ – ๖ ปี มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ๙6.08, ๘๘.๒๓ และ96.60(เป้าหมาย ≥ ร้อยละ๘๕)ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายระดับกระทรวงเด็กอายุ ๐ – ๖ เดือนมีส่วนสูงระดับดีและมีรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 81.37, ๘๐.๒๑ และ 73.23(เป้าหมาย ร้อยละ ๗๐)ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายระดับกระทรวง อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน 62.5, 65.62 และ 70.58 (เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐)ซึ่งบรรลุเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข ในการนี้อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปู่ร่วมกับกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลศรีบรรพตอำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง ได้ให้ความสำคัญกับปัญหาดังกล่าวเพื่อให้เด็กได้รับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวได้รับการประเมินพัฒนาการ และเพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ที่ถูกต้องในการดูแลลูก จึงได้จัดทำโครงการประกวด ต้นแบบสุขภาพเด็กดีศรีบรรพต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
  2. 2. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
  3. 2. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
  4. 3. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก 0 - 5 ปี
  5. 4. เพื่อส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประสานงานกับ อสม.ในเขตรับผิดชอบ 2 หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของกลุ่ม
  2. ลงเยี่ยมบ้านร่วมกับแกนนำสายใยรักแห่งครอบครัวเพื่อประเมินพัฒนาการ ให้ความรู้และคัดเลือกเด็กที่เป็น "ต้นแบบสุขภาพเด็กดีศรีบรรพต"
  3. จัดกิจกรรม "ต้นแบบสุขภาพเด็กดีศรีบรรพต" พร้อมมอบเกียรติบัตร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำสายใยรักแห่งครอบครัวสามารถนำความรู้เกี่ยวกับนมแม่ไปถ่ายทอดในชุมชนของตนเองได้
  2. แกนนำสายใยรักแห่งครอบครัวสามารถเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของเด็ก 0 – 5 ปีในหมู่บ้านของตนเองได้
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กแรกเกิด - อายุ 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
50.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละระดับความสำเร็จของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0 - 5 ปี สูงดีสมส่วน
50.00

 

3 2. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละระดับความสำเร็จของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0 - 5 ปี สูงดีสมส่วน
50.00

 

4 3. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก 0 - 5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก 0 - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
50.00

 

5 4. เพื่อส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของเด็กแรกเกิด - อายุ 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว 2. ร้อยละของเด็กแรกเกิด - อายุ 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก (2) 2. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน (3) 2. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน (4) 3. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก 0 - 5 ปี (5) 4. เพื่อส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประสานงานกับ อสม.ในเขตรับผิดชอบ 2 หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของกลุ่ม (2)        ลงเยี่ยมบ้านร่วมกับแกนนำสายใยรักแห่งครอบครัวเพื่อประเมินพัฒนาการ ให้ความรู้และคัดเลือกเด็กที่เป็น "ต้นแบบสุขภาพเด็กดีศรีบรรพต" (3) จัดกิจกรรม "ต้นแบบสุขภาพเด็กดีศรีบรรพต" พร้อมมอบเกียรติบัตร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการต้นแบบสุขภาพเด็กดีศรีบรรพต จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3366-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจิรภัทร์ เชาวมาลี นายแพทย์ปฏิบัตืการ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศรีบรรพต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด