กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข วันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ รพ.สต.บ้านปรางหมู่ อำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๑

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปรางหมู่


“ โครงการพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข วันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ รพ.สต.บ้านปรางหมู่ อำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๑ ”

ตำบลปรางหมู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายวธัญญูผอมนุ้ย

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข วันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ รพ.สต.บ้านปรางหมู่ อำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลปรางหมู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3358-02-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข วันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ รพ.สต.บ้านปรางหมู่ อำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๑ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปรางหมู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปรางหมู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข วันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ รพ.สต.บ้านปรางหมู่ อำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข วันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ รพ.สต.บ้านปรางหมู่ อำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปรางหมู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3358-02-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปรางหมู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในประเทศไทยได้นำกลวิธีการสาธารณสุขมูลฐานมาใช้ในการแก้ปัญหาสาธารณสุขของประเทศตั้งแต่ปี 2521 มาจนถึงปัจจุบันรวมระยะเวลา 40 ปี โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อให้ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุข๓าพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวม โดยชุมชน เพื่อชุมชนได้อย่างยั่งยืน ด้วยจิตอาสา เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดี มีความ เสียสละมีศรัทธาในการพัฒนา จากการดำเนินงานที่ผ่านมานับว่าประสบความสำเร็จในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยได้อย่างดี ซึ้งแนวคิด รูปแบบและวิธีการยังคงทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะสิ่งแวดล้อมที่เป็นภัยต่อสุขภาพต่างๆ และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกจนเป็นที่ยอมรับและกล่าวขวัญของนานาอารยประเทศ ทั้งนี้ไม่เพียงแต่ความสำเร็จในด้านการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขเพียงเท่านี้กระทรวงสาธารณสุขระลึกอยู่เสมอว่า อสม. มีความสำคัญต่อการพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐานในชุมชนเป็นอย่างยิ่งจึงได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินของ อสม. อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2536 คระรัฐมนตรีได้มีการมติกำหนดให้วันที่ 20 มีนาคม ของทุกปีเป็นวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ เพื่อยกย่องและเชิดชูเกียรติบุคคลที่อุทิศตนและสร้างผลงงานดีเด่นในการช่วยเหลือประชาชนในชุมชนให้สามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1 เพื่อเชิดชูเกียรติ อสม.ดีเด่นระดับอำเภอ
  2. 2.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมสนับสนุนบทบาทหน้าที่ของ อสม.
  3. 2.3 เพื่อเผยแพร่ผลงานของ อสม. โดยการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดนิทรรศการและเผยแพร่ผ่านสื่อต่าง ๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    8.1 อสม. ได้แสดงออกถึงพลังแห่งความสามัคคี และเกิดขวัญกำลังใจมีความตื่นตัวที่จะร่วมมือกับเครื่อข่ายจักระบบสุขภาพชุมชนไปพร้อมกับเจ้าหน้าที่ พี่เลี้ยงได้ในวงกว้างและเกิดประสิทธิภาพ 8.2 อสม.มีความรู้ เกิดความตระหนัก และร่วมกันป้องกันการติดเชื้อเอดส์ในประชากรกลุ่มเสี่ยงหลัก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    -มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการติดเชื้อเอดส์ในประชากรกลุ่มเสี่ยง อสม. 112 คน จนท.4 คน -มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมประชุมวิชาการและเชิดชูเกียรติ อสม. วันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ จำนวน 112 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 2.1 เพื่อเชิดชูเกียรติ อสม.ดีเด่นระดับอำเภอ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 2.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมสนับสนุนบทบาทหน้าที่ของ อสม.
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 2.3 เพื่อเผยแพร่ผลงานของ อสม. โดยการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดนิทรรศการและเผยแพร่ผ่านสื่อต่าง ๆ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อเชิดชูเกียรติ อสม.ดีเด่นระดับอำเภอ (2) 2.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมสนับสนุนบทบาทหน้าที่ของ อสม. (3) 2.3 เพื่อเผยแพร่ผลงานของ อสม. โดยการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดนิทรรศการและเผยแพร่ผ่านสื่อต่าง ๆ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข วันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ รพ.สต.บ้านปรางหมู่ อำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๑ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 61-L3358-02-4

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวธัญญูผอมนุ้ย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด