กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ
รหัสโครงการ 61-L5221-2-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน
วันที่อนุมัติ 26 มิถุนายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 17,490.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาคร บุญนำ
พี่เลี้ยงโครงการ รพ.สต.ท่าบอน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.842,100.342place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2561 31 ก.ค. 2561 17,490.00
รวมงบประมาณ 17,490.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประชากรไทยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเพาะปลูก ได้แก่ การทำนา ทำสวน ทำไร่จะเห็นได้ว่าเกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชโดยไม่ได้คำนึงถึงอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น ซึ่งสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทางโดยการสัมผัสทางผิวหนังจากการไม่สวมถุงมือและไม่สวมรองเท้าป้องกันขณะทำงาน การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งในอากาศ การรับประทานอาหารและน้ำดื่นที่มีสารเคมีปนเปื้อน พฤติกรรมเหล่านี้ล้วนเป็นพฤติกรรมที่ส่งผลต่อสุขภาพเกษตรกรทั้งสิ้น
การได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจะเป็นพิษและอันตรายต่อสุขภาพ สามารถเกิดอาการแสดงเฉียบพลันตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนระดับรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของความเป็นพิษ และปริมาณที่ได้รับ นอกจากเกษตรกรจะได้รับอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชแล้วยังมีประชาชนทั่วไปที่บริโภคผักและผลไม้ได้รับสารพิษที่ตกค้างอยู่ได้ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทำนา ทำให้ทางชมรมส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน ซึ่งเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ ได้เห็นถึงความสำคัญในการจัดกิจกกรมในครั้งนี้จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ เพื่อดูแลสุขภาพเกษตรกรในชุมชน ประกอบด้วยการสำรวจข้อมูลเบื้องต้น การเจาะเลือดคัดกรองเพื่อสืบค้นความผิดปกติในระยะแรกเริ่ม ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรเกี่ยวกับอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศตรูพืช ตลอดจนการแนะนำวิธีการรักษาเบื้องต้นโดยใช้สมุนไพรในการล้างพิษ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ1. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ

เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ ร้อยละ ๘๐เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ ร้อยละ ๘๐

0.00
2 2. เพื่อลดการเจ็บป่วยและอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีกำจัดศตรูพืช

เกษตรกรที่มีความเสี่ยงมีผลการตรวจเลือดปกติหลังจากทานสมุนไพรล้างพิษ ร้อยละ ๕๐เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เข้าร่วมโครงการได้ตรวจคัดกรองสารพิษตกค้าง ร้อยละ ๘๐

0.00
3 3 เพื่อลดการเจ็บป่วยและอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีกำจัดศตรูพืช

เกษตรกรที่มีความเสี่ยงมีผลการตรวจเลือดปกติหลังจากทานสมุนไพรล้างพิษ ร้อยละ ๕๐

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 17,640.00 1 2,400.00
ประเมินความเสี่ยงของเกษตรกร 0 240.00 -
อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้สารเคมีที่ถูกต้องแก่กลุ่มเกษตรกรในตำบลท่าบอน 0 17,400.00 2,400.00
ส่งต่อเกษตรกรที่มีสารพิษตกค้างในเลือดที่อยู่ในระดับไม่ปลอดภัย รับชาชงสมุนไพรรางจืด ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน จ่ายโดยแพทย์แผนไทยปฏิบัติการ ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน พร้อมทั้งแนะนำการใช้ยาที่ถูกต้อง 0 0.00 -

ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการ 1.1เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน 1.2ประชาสัมพันธ์โครงการในชุมชน 1.3ค้นหาเกษตรกรรายใหม่ในชุมชน 1.4ประสานกลุ่มเป้าหมาย 1.5ประสานวิทยากรให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ขั้นที่ 2 ขั้นดำเนินการตามโครงการ 2.1ประเมินความเสี่ยงของเกษตรกร โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของเกษตรกรจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.2ประเมินความรู้ผู้เข้าร่วมอบรมก่อนให้ความรู้ 2.3แจกคู่มือสำหรับเกษตรกร 2.4จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้และการป้องกันอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ถูกต้อง แนะนำการใช้ยาสมุนไพรรางจืดล้างพิษแก่กลุ่มเกษตรกรในตำบลท่าบอน 2.5ประเมินความรู้เกษตรกรหลังการได้รับความรู้ 2.6ตรวจเลือดเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เข้าร่วมโครงการ 2.7แจ้งผลการตรวจสารพิษตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่ได้รับการตรวจเลือด 2.8. ส่งต่อเกษตรกรที่มีสารพิษตกค้างในเลือดที่อยู่ในระดับไม่ปลอดภัย รับชาชงสมุนไพรรางจืด ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน โดยแพทย์แผนไทยปฏิบัติการ ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน พร้อมทั้งแนะนำการใช้ยาที่ถูกต้อง 2.9. นัดตรวจเลือดซ้ำหลังเกษตรกรที่ได้รับชาชงสมุนไพรรางจืดไปทานแล้ว1เดือน
ขั้นตอนที่ 3สรุปวิเคราะห์และประเมินผล 3.1 ประเมินผลความรู้ผู้เข้าร่วมโครงการหลังดำเนินการ 3.2จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการที่ได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือด 3.2ติดตามผลจากการทานยาสมุนไพรรางจืดในกลุ่มที่มีผลเลือดผิดปกติ 3.2 สรุปผลโครงการและคืนข้อมูลแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษเพิ่มขึ้น ๒. เกษตรกรที่มีความเสี่ยงมีผลการตรวจเลือดปกติหลังจากทานสมุนไพรล้างพิษ
๓. เกษตรกรและผู้บริโภคปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ม.ค. 2561 15:25 น.