โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านไสนายขัน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านไสนายขัน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ”
ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรม อสม. หมู่ที่ 8 ตำบลควนขนุน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านไสนายขัน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 6/60 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านไสนายขัน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านไสนายขัน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านไสนายขัน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 6/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข และเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในอดีตที่ผ่านมา กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70 - 75 เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 5 -14 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนและการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน ซึ่งเป็นการบากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดกาสารฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุด คือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด
สถานการณ์ผู้ป่วยไข้เลือดออกตั้งแต่ต้นปี เดือนมกราคม - พฤศจิกายน พ.ศ.2559 พบผู้ป่วย 5 ราย ซึ่งเกิดขึ้นติดต่อกัน ทั้งที่มีการควบคุมโรคแล้ว แต่ยังมีผู้ป่วยเพื่มขึ้น คิดเป็นอัตราป่วย 488.76 ต่อแสนประชากร จากจำนวนผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน พบผู้ป่วยทั้งหมด 10 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 260.08 ต่อแสนประชากร
การป้องกันก่อนถึงฤดูกาลระบาด ในช่วงเดือนพฤษภาคม - ตุลาคม และในทุกพื้นที่ช่วยกันลดจำนวนยุงลายให้เหลือน้อยที่สุด โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่มักอาศัยในภาชนะที่มีน้ำท่วมขัง และหากมีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออกให้ดำเนินการสอบสวนโรคและควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง เพื่อไม่ให้โรคแพร่ระบาด และพ่นสารเคมีรอบบ้านผู้ป่วยรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรค
ในการนี้ อสม. หมู่ที่ 8 ตำบลควนขนุน จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และเป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันต่างๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้้เลือดออก โดยการลดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง ซึ่งเป็นพาหะนำโรคเพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- 2.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
- 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
268
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
2.ให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม การป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
3.ลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ของหมู่ที่ 8 ซึ่งพบว่า ตั้งแต่ มกราคม - มีนาคม 2560 มีผู้ป่วยไข้เลือดออก 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 562.32 ต่อแสนประชากร ซึ่งนับว่าเป็นอัตราป่วยที่สูงที่สุดในตำบลควนขนุน อีกทั้งยังพบผู้ป่วยซ้ำในช่วง 28 วัน (Secondary case) ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่ทีมระบาดต้องแก้ไขและดำเนินงานเชิงรุกอย่างเข้มแข็ง ทั้งการเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก โดยจัดประชุมแกนนำครอบครัว ให้ช่วยกันสอดส่องดูแลเพื่อลดการแพร่กระจาย การส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก และการรณรงค์ สำรวจ และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทุกสัปดาห์ พร้อมกับรณรงค์ 3 เดือน/ครั้ง ผลจากการติดตาม พบว่า
-ผู้เข้าร่วมประชุม ให้ความสนใจในกิจกรรมและพยายามหาแนวทางการแก้ปัญหา
-มีการรณรงค์ 3 เดือน/ครั้ง พบว่า สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลงได้
-ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มมาเลย ตั้งแต่ มีนาคม - กันยายน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
2
2.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
3
3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
288
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
268
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) 2.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านไสนายขัน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 6/60
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ประธานชมรม อสม. หมู่ที่ 8 ตำบลควนขนุน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านไสนายขัน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ”
ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรม อสม. หมู่ที่ 8 ตำบลควนขนุน
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 6/60 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านไสนายขัน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านไสนายขัน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านไสนายขัน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 6/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข และเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในอดีตที่ผ่านมา กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70 - 75 เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 5 -14 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนและการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน ซึ่งเป็นการบากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดกาสารฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุด คือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด สถานการณ์ผู้ป่วยไข้เลือดออกตั้งแต่ต้นปี เดือนมกราคม - พฤศจิกายน พ.ศ.2559 พบผู้ป่วย 5 ราย ซึ่งเกิดขึ้นติดต่อกัน ทั้งที่มีการควบคุมโรคแล้ว แต่ยังมีผู้ป่วยเพื่มขึ้น คิดเป็นอัตราป่วย 488.76 ต่อแสนประชากร จากจำนวนผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน พบผู้ป่วยทั้งหมด 10 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 260.08 ต่อแสนประชากร การป้องกันก่อนถึงฤดูกาลระบาด ในช่วงเดือนพฤษภาคม - ตุลาคม และในทุกพื้นที่ช่วยกันลดจำนวนยุงลายให้เหลือน้อยที่สุด โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่มักอาศัยในภาชนะที่มีน้ำท่วมขัง และหากมีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออกให้ดำเนินการสอบสวนโรคและควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง เพื่อไม่ให้โรคแพร่ระบาด และพ่นสารเคมีรอบบ้านผู้ป่วยรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรค ในการนี้ อสม. หมู่ที่ 8 ตำบลควนขนุน จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และเป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันต่างๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้้เลือดออก โดยการลดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง ซึ่งเป็นพาหะนำโรคเพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- 2.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
- 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 268 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร 2.ให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม การป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก 3.ลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ของหมู่ที่ 8 ซึ่งพบว่า ตั้งแต่ มกราคม - มีนาคม 2560 มีผู้ป่วยไข้เลือดออก 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 562.32 ต่อแสนประชากร ซึ่งนับว่าเป็นอัตราป่วยที่สูงที่สุดในตำบลควนขนุน อีกทั้งยังพบผู้ป่วยซ้ำในช่วง 28 วัน (Secondary case) ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่ทีมระบาดต้องแก้ไขและดำเนินงานเชิงรุกอย่างเข้มแข็ง ทั้งการเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก โดยจัดประชุมแกนนำครอบครัว ให้ช่วยกันสอดส่องดูแลเพื่อลดการแพร่กระจาย การส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก และการรณรงค์ สำรวจ และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทุกสัปดาห์ พร้อมกับรณรงค์ 3 เดือน/ครั้ง ผลจากการติดตาม พบว่า -ผู้เข้าร่วมประชุม ให้ความสนใจในกิจกรรมและพยายามหาแนวทางการแก้ปัญหา -มีการรณรงค์ 3 เดือน/ครั้ง พบว่า สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลงได้ -ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มมาเลย ตั้งแต่ มีนาคม - กันยายน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 288 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 268 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) 2.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านไสนายขัน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 6/60
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ประธานชมรม อสม. หมู่ที่ 8 ตำบลควนขนุน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......