กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกินอาหารไม่ปลอดภัย ต้องใส่ใจตรวจสารพิษ หมู่ที่ 5
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ประธาน อสม หมู่ที่5
วันที่อนุมัติ 18 ตุลาคม 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 6,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.818,99.948place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์ในปัจจุยัน พบว่าการเจ็บป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุข เช่นโรคปวดเมื่อยตามข้อ โรคปวดหลัง โรคที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ สารเคมีตกค้างในเลือด รวมถึงโรคมะเร็ง ฉะนั้น การที่ประชาชนต้องมีการประกอบอาชีพเพื่อการดำรงชีวติประจำวันนั้นก็ต้องมีการป้องกันโรคซืึ่งมักเกิดกับการประกอบอาชีพ ซึ่งบางครั้งคิดว่าไม่เป็นไร ไม่ต้องมีการป้องกัน ซึ่งถือว่าเป็นการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ลืมนึกถึงการป้องกันตนเอง และมำให้สุขภาพไม่แข็งแรงในอนาคต
ฉะนั้น อสม. หมู่ที่ 5 ตำบลบ้าพนร้าว จึงได้เล็งเห็นความสำคัญและจัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ประชาชนที่มีอาชีพในพื้นที่ ได้มีความรู้ในการปอ้งกันตนเองจากการประกอบอาชีพในชีวิตประจำวันและมีสุขภาพที่แข็งแรงตลอดไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรุ้เรื่องสารเคมีตกค้างในเลือด 2.เพื่อให้ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินเองอย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิด ร้อยละ 95 ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ

-ร้อยละ 90 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสารพิษ -ผู้เข้าร่วมสามารถดูแลตัวเองได้และกลุ่มเสี่ยงสามารถทราบผลจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ร้อยละ 70

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 3.ประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อเชิญชวนให้ประชาชนมาร่วมโครงการ 4.คัดกรองสุขภาพ ความดันเบาหวาน สารเคมีตกค้าง ประชาชนอายุ 35 ปีชึ้นไป 5.สรุปผลการคัดกรองแยกเป็นประชาชนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย 6.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีตกค่้างในเลือด 7.ตรวจสุขภาพหลังเข้าร่วมโครงการ เพื่อเปรียบเทียบก่อน หลัง
8.รายงานผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องสารเคมีตกค้างในเลือด ที่ถูกต้องร้อยละไม่น้อยกว่า 80 2.ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินเองอย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ฃนิด ร้อยละ 95 ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ม.ค. 2560 11:14 น.