กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว


“ โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ที่ 6 ”

ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ที่ 6

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ที่ 6 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ที่ 6



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ที่ 6 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนาการมีสุขภาพที่ดีมิได้หมายถึงเพียงการมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพเท่านั้น ต้องขึ้นอยู่กับประชาชนรู้จักการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงอยู่เสมอ เพราะโรคบางโรค เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็งหัวใจและหลอดเลือดสาเหตุเกิดมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง เช่น ขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องซึ่งสามารถป้องกันได้ด้วยการออกกำลังกายรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ดีกว่าการรอให้เกิดการเจ็บป่วยแล้วรักษา จะทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรและงบประมาณในการดูแลรักษาจำนวนมาก การที่คนเรามีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่ดี ดังนั้นประชาชนจึงควรมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ตนเองมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง จากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนหมู่ที่ 6บ้านหาดสูง ต.บ้านพร้าว โดย อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข พบว่าประชาชนป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน31คนโรคเบาหวาน13คนและจากการคัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปของหมู่ที่ 6 บ้านหาด จำนวน 298 คนเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 184 คน คิดเป็นร้อยละ 61.74 เสี่ยงต่อโรคเบาหวานจำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 14.86 ซึ่งสาเหตุเกิดจากการขาดการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง พบว่ามีพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาทีร้อยละ 35.42พฤติกรรมการกินผักและผลไม้สดครึ่งกิโลกรัมต่อวันเพียงร้อยละ 44.45
หากประชาชนในหมู่ที่ 6 บ้านหาดสูง ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพก็จะส่งผลให้ประชาชนเจ็บป่วยพิการด้วยโรคไม่ติดต่อต่อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ต้องสูญรายได้คุณภาพชีวิตน้อยลงดังนั้นทางหมู่บ้านจึงได้จัดทำประชาคมเพื่อหาแนวทางร่วมกันในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ ลดโรคต่างๆเช่น โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน โรคอ้วน ฯ ลฯ ให้ลดลงหรือให้หมดไปจากหมู่บ้าน คณะทำงานหมู่บ้านจึงมีมติเลือกปัญหาด้านสุขภาพในการแก้ปัญหาจึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดีลดเสี่ยงลดโรค หมู่ที่ ๖ ปี 25๖๐

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1เพื่อให้ประชาชนมีการกินผักและผลไม้สด อย่างน้อยวันละ ครึ่งกิโลกรัมเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๓๐ 2เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 – 5 วัน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 ๓. สถานะสุขภาพ(ความดันโลหิตสูง/เบาหวาน)ผู้เข้าร่วมโครงการ ดีขึ้นร้อยละ ๑๐

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1ประชาชนพฤติกรรมการกินผัก และผลไม้สด ครึ่งกิโลกรัมต่อคนต่อวัน เพิ่มขึ้น 2ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาที สัปดาห์ละ 3 – 5 วัน เพิ่มขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    มีการตรวจสุขชภาพให้แก่ผุ้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน พบว่า หลังดำเนินโครงการนำ้หนักตัวลดลง จำนวน 5 คน รอบเอวลดลง จำนวน 6 คน ระดับความดันปกติ จำนวน 8 คน มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง เช่น รำไม้พรอง แอร์โรบิค ตารางเก้าช่อง เดิน วิ่ง จนถึงปัจจุบัน
    มีการจัดรณรงค์ สร้างกระแส โดยเดิน วิ่ง จำนวน 2 ครั้ง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1เพื่อให้ประชาชนมีการกินผักและผลไม้สด อย่างน้อยวันละ ครึ่งกิโลกรัมเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๓๐ 2เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 – 5 วัน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 ๓. สถานะสุขภาพ(ความดันโลหิตสูง/เบาหวาน)ผู้เข้าร่วมโครงการ ดีขึ้นร้อยละ ๑๐
    ตัวชี้วัด : 1.มีผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 -สถานะสุขภาพ (ความดันโลหิต/เบาหวาน/สารเคมีตกค้างในเลือด) ดีขึ้นหลังดำเนินโครงการร้อยละ 70 2.ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อให้ประชาชนมีการกินผักและผลไม้สด อย่างน้อยวันละ ครึ่งกิโลกรัมเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๓๐ 2เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 – 5 วัน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 ๓. สถานะสุขภาพ(ความดันโลหิตสูง/เบาหวาน)ผู้เข้าร่วมโครงการ ดีขึ้นร้อยละ ๑๐

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ที่ 6 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด