กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจสารพิษตกค้างในเกษตรกร หมู่ที่ 1
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ประธาน อสม หมู่ที่ 1
วันที่อนุมัติ 18 ตุลาคม 2016
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2017 - 30 เมษายน 2017
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 7,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.818,99.948place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากในปัจจุบันประชาชนส่วนใหญ่ต้องเร่งรีบในการออกไปทำงานจึงไม่มีเวลาที่จะปลูกผักหรือทำการเกษตรเพื่อครอบครัว หรือเกษตรพอเพียง ส่วนใหญ่ต้องซื้อมากิจและบริโภคเอง จึงทำให้ได้รับอาหารที่มีสารตกค้างโดยที่ผุ้บริโภคไม่รู้ตัว ดังนั้น อสม.ร่วมกับรพ.สต.บ้านตลิ่งชันจึงจัดโครงการตรวจสารพิษตกค้างให้กับประชาชนในหมู่ที่ 1เพื่อให้ประชาชนหรือกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสารพิษในเลือด ทำให้กลุ่มเป้าหมายได้นำไปปฎิบัติตนได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัยในการบริโภคของต่างๆ และผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดูแลตัวเองได้ และกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของการบริโภค ร้อยละ 70 และเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดี มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรอง ตรวจสารพิษตกค้างในเลือด 2.ร้อยละ 90 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรอง 3.ผุ้เข้าร่วมมีความรุ้และสามารถดูแลตัวเองได้ 4.กลุ่มเสี่ยงสามารถทราบผล และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร 5.ร้อยละ 70 สามารถดูแลตัวเองได้

-ผู้เข้าร่วมสามารถดูแลตัวเองได้และกลุ่มเสี่ยงสามารถทราบผลจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ร้อยละ 70

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดประชุม ปรึกษาหารือในการดำเนินกิจกรรม 2.เสนอโครกงารกองทุน 3.ประชาสัมพันธ์โครงการโดยผ่านเสียงตามสาย อสม. ผู้นำชุมชน/ผุ้ใหญ่บ้าน 4.ติดต่อกลุ่มเป้าหมาย /วิทยากร 5.ดำเนินงานตามโครงการ 6.ติดตามประเมินผล /รายงานผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการดูแลตัวเองและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ 2.กลุ่มเสี่ยงสามารถมีความรู้และสามารถเตือนสติให้รู้จักบริโภคอาหารมากขึ้น 3.กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 90 ได้รับการคัดกรอง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ม.ค. 2017 11:43 น.