กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการตรวจคัดกรองวัณโรคในชุมชนและการดูแลผู้ป่วยวัณโรค ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองวัณโรคในชุมชนและการดูแลผู้ป่วยวัณโรค

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3339-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองวัณโรคในชุมชนและการดูแลผู้ป่วยวัณโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองวัณโรคในชุมชนและการดูแลผู้ป่วยวัณโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองวัณโรคในชุมชนและการดูแลผู้ป่วยวัณโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3339-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรค (Tuberculosis:TB) เป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข เป็นสาเหตุของการป่วยและการเสียชีวิตในหลายๆประเทศทั่วโลก อีกทั้งปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหา วัณโรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น วัณโรคจึงนับเป็นปัญหาที่ท้าทายต่อวงการสาธารณสุขของประเทศต่าง(กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2548) วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขระดับโลกมาเป็นระยะเวลานาน ปัจจุบันทั่วโลกยังมีผู้ป่วยและเสียชีวิตจากวัณโรคเป็นจำนวนมาก จึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องหยุดยั้ง เนื่องจากมีผลกระทบต่อความสูญเสียต่อภาวะสังคม เศรษฐกิจ สำหรับประเทศไทยสาเหตุสำคัญที่ทำให้จำนวนผู้ป่วยวัณโรคไม่ลดลงเพราะความยากจน แรงงานเคลื่อนย้าย แรงงานต่างชาติ สิ่งแวดล้อมที่แออัด ที่เอื้อต่อการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค และผลกระทบจากการระบาดของโรคเอดส์ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ทำให้ผู้ป่วยวัณโรคมีจำนวนเพิ่มขึ้น อัตราการตายสูง และมีปัญหาเชื้อดื้อยาวัณโรคเพิ่มขึ้น องค์การอนามัยโลกได้จัดให้ประเทศไทยเป็น 1 ใน 22 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรครุนแรง (High TB burdencountries)
และคาดว่าสถานการณ์วัณโรคของประเทศไทย น่าจะมีผู้ป่วยวัณโรคทุกชนิดทั้งรายเก่าและรายใหม่ (Prevalence) ประมาณ 110,000 ราย หรือ 161 ต่อแสนประชากร ในขณะเดียวกันมีผู้ป่วยรายใหม่ (Incidence) เกิดขึ้นประมาณ 98,000 รายต่อปี หรือ 124 ต่อแสนประชากร และอัตราการตาย (Mortality) 14 ต่อแสนประชากรหรือประมาณ 9,800 ราย(กรมกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,25425) สอดคล้อกับจำนวนผู้ป่วยในตำบลหารเทาที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี โดยปี 2556 – 2559 มีจำนวนผู้ป่วยจำนวน7 10 5 และ 6 รายตามลำดับ (ทะเบียนวัณโรค รพ.สต.บ้านฝาละมี)ส่วนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรควัณโรคของตำบลหารเทา ที่ผ่านมาพบว่าผู้ป่วยเข้ารับการรักษาช้าทำให้มีโอกาสในการแพร่เชื้อในชุมชนได้นาน การค้นหาผู้ป่วยยังไม่ครอบคลุม ผู้ป่วยยังขาดความรู้และการติดตามอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ผู้ป่วยทานยาไม่ครบกำหนด ส่งผลทำให้การรักษาผู้ป่วยวัณโรคเกิดการดื้อยา สอดคล้องกับองค์การอนามัยโลกรายงานว่ามีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ปีละ 9 ล้านราย แต่เข้าถึงการรักษาเพียง 6 ล้านราย
ดังนั้น เพื่อให้การป้องกันและควบคุมโรคมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อประชาชนและผู้ป่วยในตำบลหารเทา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี จึงได้ทำโครงการตรวจคัดกรองวัณโรคในชุมชนและการดูแลผู้ป่วยวัณโรคเพื่อคัดกรองหากลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดโรควัณโรคในชุมชน อันจะเป็นแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรคและเร่งสร้างความรู้เพื่อเป็นเกราะป้องกันสุขภาพของคนในชุมชนให้ห่างไกลจากวัณโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
  2. 2 เพื่อให้ความรู้และทักษะการคัดกรองโรควัณโรค แก่ อสม. และแกนนำชุมชน
  3. 3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคและได้รับการคัดกรองวัณโรคจาก อสม.และผู้นำชุมชน
  4. 4 เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการอบรมแกนนำชุมชนและอสม.
  2. กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม. และแกนนำชุมชน มีความรู้และทักษะการคัดกรองวัณโรค
  2. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค
  3. ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการขึ้นทะเบียนและได้รับการติดตามรักษาจนครบ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความรู้และทักษะการคัดกรองวัณโรคในชุมชน 2.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยงวัณโรค ได้รับการคัดกรองวัณโรค ร้อยละ 95 3.ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการติดตามรักษาและเยี่ยมบ้าน ติดตามการกินยา โดยวิธี DOT โดยญาติ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
ตัวชี้วัด : กลุ่มสงสัยวัณโรคได้รับการเอ็กซเรย์ปอดทุกราย
0.00

 

2 2 เพื่อให้ความรู้และทักษะการคัดกรองโรควัณโรค แก่ อสม. และแกนนำชุมชน
ตัวชี้วัด : อสม.และแกนนำชุมชนมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังรับการอบรม ร้อยละ 60
0.00

 

3 3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคและได้รับการคัดกรองวัณโรคจาก อสม.และผู้นำชุมชน
ตัวชี้วัด : คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 90
0.00

 

4 4 เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ไม่มีผู้ป่วยขาดการรักษา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ (2) 2  เพื่อให้ความรู้และทักษะการคัดกรองโรควัณโรค แก่ อสม. และแกนนำชุมชน (3) 3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคและได้รับการคัดกรองวัณโรคจาก อสม.และผู้นำชุมชน (4) 4  เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการอบรมแกนนำชุมชนและอสม. (2) กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองวัณโรคในชุมชนและการดูแลผู้ป่วยวัณโรค จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3339-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด